ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2021

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวัน
ชิงแชมป์โลก
2021
ก่อนหน้า: 2020 ถัดไป: 2022

เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2021 (อังกฤษ: 2021 FIA Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 72 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกที่รับรองโดยสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลการแข่งขันรถยนต์ระดับนานาชาติ ในฐานะการแข่งขันระดับสูงสุดของการแข่งรถประเภทล้อเปิด (open-wheel racing cars) โดยการแข่งขันชิงแชมป์โลกจะมีกำหนดการเข้าร่วมการแข่งขันหรือกรังด์ปรีซ์ที่จัดขึ้นทั่วโลก นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ

ผู้เข้าแข่งขัน[แก้]

ทีมและนักขับต่อไปนี้อยู่ภายใต้สัญญาที่จะเข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2021 โดยทุกทีมจะใช้ยางรถของปีเรลลี[1] แต่ละทีมจะต้องมีนักขับอย่างน้อยสองคนสำหรับรถสองคัน[2][3]

ทีม ผู้ผลิต[4] โครงรถ เครื่องยนต์ หมายเลข นักขับ อ้างอิง
สวิตเซอร์แลนด์ อัลฟาโรเมโอเรซซิงออร์เลน อัลฟาโรเมโอเรซซิง-แฟร์รารี ซี41[5] แฟร์รารี 065/6[6] 7 ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน [7]
99 อิตาลี อันโตนีโอ โจวีนัซซี
อิตาลี สกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า อัลฟาทอรี-ฮอนด้า เอที02[8] ฮอนด้า อาร์เอ621เอช[9] 10 ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี [10]
22 ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ [11][12]
ฝรั่งเศส อัลไพน์เอฟวันทีม[13] อัลพีน-เรอโนลต์ เอ521[14] เรอโนลต์ อี-เทค 20บี[15] 14 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ [16]
31 ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน [17]
สหราชอาณาจักร แอสตันมาร์ตินเอฟวันทีม[18][19] แอสตันมาร์ติน-เมอร์เซเดส เอเอ็มอาร์21[20] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[21] 5 เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล [22]
18 แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์
อิตาลี สกูเดเรียแฟร์รารีมิสชันวินนาว แฟร์รารี เอสเอฟ21[23] แฟร์รารี 065/6[24] 16 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ [25]
55 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ [26]
สหรัฐ ฮาสเอฟวันทีม ฮาส-แฟร์รารี วีเอฟ-21[27] แฟร์รารี 065/6[28] 9   นีคีตา มาเซปิน[a] [30][31]
47 เยอรมนี มิค ชูมัคเคอร์ [32][33]
สหราชอาณาจักร แม็กลาเรนเอฟวันทีม แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส เอ็มซีแอล35เอ็ม[34] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[35] 3 ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด [36]
4 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส [37]
เยอรมนี เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสฟอร์มูลาวันทีม เมอร์เซเดส เอฟวัน ดับบลิว12[38] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[39] 44 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน [40]
77 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส [41]
ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บี16บี[42] ฮอนด้า อาร์เอ621เอช[43] 11 เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ [44]
33 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน [45]
สหราชอาณาจักร วิลเลียมส์เรซซิง วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส เอฟดับบลิว43บี[46] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[47] 6 แคนาดา นิโคลัส ลาตีฟี [48]
63 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ [49]
ที่มา:[50]

การเปลี่ยนแปลงทีม[แก้]

แม็กลาเรนประกาศว่าพวกเขาจะเปลี่ยนจากการใช้เครื่องยนต์ของเรอโนลต์ เป็นเครื่องยนต์ของเมอร์เซเดส ซึ่งแม็กลาเรนเคยใช้เครื่องยนต์ของเมอร์เซเดสระหว่างฤดูกาล 1995 และ 2014[51] เรซซิงพอยต์จะเป็นที่รู้จักในชื่อแอสตันมาร์ติน การเปลี่ยนชื่อครั้งนี้เกิดจากการที่ลอว์เรนซ์ สโตรลล์ หุ้นส่วนของทีม เข้าลงทุนในแอสตันมาร์ติน[52] เรอโนลต์จะเป็นที่รู้จักในชื่ออัลไพน์ ซึ่งเป็นแบรนด์รถสปอร์ตของเรอโนลต์[13]

การเปลี่ยนแปลงนักขับ[แก้]

เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิลออกจากทีมแฟร์รารี เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันปี 2020[53] ที่นั่งของเฟ็ทเทิลถูกแทนที่โดย การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ ผู้ที่จะออกจากทีมแม็กลาเรน[26] แดเนียล ริคาร์โดย้ายจากเรอโนลต์ไปแม็กลาเรน ซึ่งเขาเข้ามาแทนที่ของไซนซ์[36] ริคาร์โดจะถูกแทนที่โดยเฟร์นันโด อาลอนโซ ซึ่งจะขับให้กับอัลไพน์เป็นฤดูกาลแรก[16]

เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิลย้ายไปแอสตันมาร์ติน แทนที่ของเซร์ฆิโอ เปเรซ[22][54] เดิมที เปเรซเซ็นสัญญากับแอสตันมาร์ตินจนถึงปี 2022[55] แต่ย้ายไปเร็ดบุลเรซซิง แทนที่อเล็กซานเดอร์ อัลบอน ซึ่งอัลบอนจะกลายเป็นนักขับสำรองสำหรับฤดูกาล 2021[44] เปเรซเป็นนักขับคนแรกนับตั้งแต่ มาร์ก เวบเบอร์ ในปี 2007 ที่เข้าร่วมทีมโดยไม่ได้เป็นสมาชิกของเร็ดบุลจูเนียร์ทีม[56]

รอแม็ง โกรฌ็อง และเควิน เมานุสเซิน ซึ่งขับให้กับทีมฮาสตั้งแต่ปี 2016 และ 2017 ตามลำดับ ทั้งคู่ย้ายออกจากทีมหลังสิ้นสุดปี 2020[57] โดยมี มิค ชูมัคเคอร์ ผู้ชนะเลิศฟอร์มูลา 2 2020 และลูกชายของมิชชาเอล ชูมัคเคอร์ จะเข้ามาแทนที่[32] พร้อมกับนีคีตา มัซปิน ซึ่งจบอันดับที่ห้าในการแข่งขันฟอร์มูลา 2[30][58]

ยูกิ สึโนดะ ผู้ซึ่งจบอันดับที่สามในการแข่งขันฟอร์มูลา 2 2020 จะย้ายไปขับฟอร์มูลวันให้กับสกูเดเรียอัลฟาทอรี แทนที่ของดานีอิล เควียต สึโนดะจะเป็นนักแข่งฟอร์มูลาวันคนแรกนักตั้งแต่ คามูอิ โคบายาชิ ในปี 2014[11]

ผลและตารางคะแนน[แก้]

กรังด์ปรีซ์[แก้]

รอบที่ กรังด์ปรีซ์ ตำแหน่งโพล ทำรอบเร็วที่สุด ผู้ชนะ ทีมผู้ชนะ
1 บาห์เรน บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ฟินแลนด์ วัลท์เทอรี บอททาส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
2 อิตาลี เอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
3 โปรตุเกส โปรตุกีสกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลท์เทอรี บอททาส ฟินแลนด์ วัลท์เทอรี บอททาส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
4 สเปน สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
5 โมนาโก มอนาโกกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
6 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานกรังด์ฟรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
7 ฝรั่งเศส เฟรนช์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
8 ออสเตรีย สตีเรียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
9 ออสเตรีย ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
10 สหราชอาณาจักร บริติชกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
11 ฮังการี ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน ฝรั่งเศส อัลพีน-เรอโนลต์
12 เบลเยียม เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ไม่มี เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
13 เนเธอร์แลนด์ ดัตช์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
14 อิตาลี อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส
15 รัสเซียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
16 ตุรกี เตอร์กิชกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เยอรมนี เมอร์เซเดส
17 สหรัฐ ยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
18 เม็กซิโก เม็กซิโกซิตีกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
19 บราซิล เซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
20 ประเทศกาตาร์ กาตาร์กรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
21 ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
22 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า

ระบบคะแนน[แก้]

คะแนนจะมอบให้กับนักขับ 10 อันดับแรกและนักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด ซึ่งนักขับที่ทำรอบที่เร็วที่สุดจะต้องอยู่ใน 10 อันดับแรกเพื่อรับคะแนน ในกรณีที่คะแนนเสมอกันระบบนับถอยหลังจะถูกใช้โดยที่นักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุด คะแนนจะมอบให้สำหรับทุกการแข่งขันโดยใช้ระบบต่อไปนี้:[59]

อันดับ  1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   FL 
คะแนน 25 18 15 12 10 8 6 4 2 1 1
รอบคัดเลือกแบบสปรินท์ 3 2 1

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ[แก้]

อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
EMI
อิตาลี
POR
โปรตุเกส
ESP
สเปน
MON
โมนาโก
AZE
อาเซอร์ไบจาน
FRA
ฝรั่งเศส
STY
ออสเตรีย
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BELdouble-dagger
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
TUR
ตุรกี
USA
สหรัฐ
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
QAT
ประเทศกาตาร์
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 2P 1 2 2F 1 18†F 1PF 1P 1PF Ret1 P 9 1P 1P Ret2 P 2 2 1P 1 22 2F 2 1PF 395.5
2 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 1 2PF 1 1P 7F 15 2 2F 4 12 2P 3 2F Ret 1 5 2F 2 1 1P 1PF 2 387.5
3 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส 3F Ret 3PF 3 Ret 12 4 3 2 33 Ret 12 3 31 5 1PF 6 15PF 31 P Ret 3 6 226
4 เม็กซิโก เซิอร์จิโอ เปเรซ 5 11 4 5 4 1 3 4 6 16F Ret 19 8 5 9 3 3 3 4F 4 Ret 15† 190
5 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ 8 5 11 7 2 8 11 6 5 6 3 10 7 6 3 8 7 6 63 7 8 3 164.5
6 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส 4 3 5 8 3 5 5 5 3 4 Ret 14 10 2 7PF 7 8 10 10 9 10 7 160
7 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ 6 4 6 4 DNSP 4P 16 7 8 2 Ret 8 5 4 15 4 4 5 5 8 7 10 159
8 ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด 7 6 9 6 12 9 6 13 7 5 11 4 11 13 F 4 13 5 12 Ret 12 5 12 115
9 ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี 17† 7 10 10 6 3 7 Ret 9 11 5F 6 4 Ret 13 6 Ret 4 7 11 6 5 110
10 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ Ret 10 8 17 13 6 8 9 10 7 4 11 6 8 6 16 Ret 9 9 3 13 8 81
11 ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน 13 9 7 9 9 Ret 14 14 Ret 9 1 7 9 10 14 10 Ret 13 8 5 4 9 74
12 เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 15 15† 13 13 5 2 9 12 17† Ret DSQ 5 13 12 12 18 10 7 11 10 Ret 11 43
13 แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 10 8 14 11 8 Ret 10 8 13 8 Ret 20 12 7 11 9 12 14 Ret 6 11 13 34
14 ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ 9 12 15 Ret 16 7 13 10 12 10 6 15 Ret DNS 17 14 9 Ret 15 13 14 4 32
15 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ 14 Ret 16 14 14 17† 12 Ret 11 12 8 2 17† 9 10 15 14 16 13 17 Ret Ret 16
16 ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน 11 13 Ret 12 11 10 17 11 15 15 10 18 WD 8 12 13 8 12 14 15 Ret 10
17 แคนาดา นิโคลัส ลาตีฟี 18† Ret 18 16 15 16 18 17 16 14 7 9 16 11 19† 17 15 17 16 Ret 12 Ret 7
18 อิตาลี อันโตนีโอ โจวีนัซซี 12 14 12 15 10 11 15 15 14 13 13 13 14 13 16 11 11 11 14 15 9 Ret 3
19 เยอรมนี มิค ชูมัคเคอร์ 16 16 17 18 18 13 19 16 18 18 12 16 18 15 Ret 19 16 Ret 18 16 Ret 14 0
20 โปแลนด์ โรเบิรต์ คูบิกา 15 14 0
21 Russian Automobile Federation นีคีตา มาเซปิน Ret 17 19 19 17 14 20 18 19 17 Ret 17 Ret Ret 18 20 17 18 17 18 Ret WD 0
อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
EMI
อิตาลี
POR
โปรตุเกส
ESP
สเปน
MON
โมนาโก
AZE
อาเซอร์ไบจาน
FRA
ฝรั่งเศส
STY
ออสเตรีย
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BELdouble-dagger
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
TUR
ตุรกี
USA
สหรัฐ
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
QAT
ประเทศกาตาร์
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
ที่มา:
คำอธิบาย
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน รองชนะเลิศอันดับที่ 1
ทองแดง รองชนะเลิศอันดับที่ 2
เขียว อันดับอื่น ๆ ที่มีคะแนน
น้ำเงิน อันดับอื่น ๆ
จบการแข่งขัน แต่ไม่ถูกนำมาจัดอันดับ (NC)
ม่วง ไม่จบการแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านรอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ผ่านการก่อนการคัดเลือก (DNPQ)
Black ตัดสิทธิ์การแข่งขัน (DSQ)
ดำ ไม่ได้เริ่มแข่งขัน (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึก (DNP)
ยกเว้น (EX)
ไม่มาสนามแข่งขัน (DNA)
ถอนตัว (WD)
คำอธิบายเพิ่มเติม ความหมาย
เลขยกกำลัง คะแนนที่ได้จากรอบคัดเลือกแบบสปรินท์
P ตำแหน่งโพล
F เวลาต่อรอบเร็วที่สุด


หมายเหตุ:

  • † – นักแข่งไม่ขบการแข่งขัน แต่ได้รับการจัดอันดับ เนื่องจากได้ทำการแข่งขันเกิน 90% แล้ว
  • double-dagger – การแข่งขันที่เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ ให้คะเนื่องเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากมีการแข่งขันน้อยกว่า 75% ของการแข่งขันที่กำหนดไว้ คะแนนเวลาต่อรอบเร็วที่สุดไม่ถูกนำมาคิดคะแนน


อ้างอิง[แก้]

  1. Coch, Mat (26 November 2018). "Pirelli to remain F1 tyre supplier until 2023". speedcafe.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2019. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
  2. "2020 Formula One Sporting Regulations" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 28 April 2020. p. 5. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "2021 F1 drivers and teams". RaceFans. Collantine Media Ltd. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. "CONFIRMED: All 10 teams reach new Formula 1 Concorde Agreement". F1. 19 August 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 19 August 2020.
  5. Franco Nugnes (19 January 2021). "Alfa Romeo: si chiamerà C41 la monoposto 2021" (ภาษาอิตาลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2021. สืบค้นเมื่อ 19 January 2021.
  6. "Alfa Romeo Racing C41". Alfa Romeo Racing. Sauber Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-28. สืบค้นเมื่อ 10 March 2021.
  7. "Alfa Romeo to retain Raikkonen and Giovinazzi in unchanged 2021 driver line-up". F1. 30 October 2020. สืบค้นเมื่อ 30 October 2020.
  8. "AlphaTauri name date to reveal 2021 F1 car – the AT02". F1. 4 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 4 February 2021.
  9. "AT02 Fire Up: 8D Audio | Scuderia AlphaTauri". 16 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 16 February 2021.
  10. "AlphaTauri confirm Pierre Gasly is to remain with the team for 2021". F1. 28 October 2020. สืบค้นเมื่อ 28 October 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. 11.0 11.1 "Tsunoda to make F1 racing debut with AlphaTauri in 2021, in place of Kvyat". F1. 16 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-12-16.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  12. "Scuderia AlphaTauri Drivers". Scuderia AlphaTauri. 16 December 2020. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  13. 13.0 13.1 "Renault to rebrand as Alpine F1 Team in 2021". F1. 6 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 7 September 2020.
  14. Smith, Luke (14 January 2021). "Alpine to launch A521 F1 car next month after livery tease". Autosport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 January 2021. สืบค้นเมื่อ 14 January 2021.
  15. Alpine F1 Team [@AlpineF1Team] (2 March 2021). "Alpine A521 Renault E-TECH 20B @OconEsteban @alo_oficial #A521Launch Blue heart in the comments if you're in love!" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 2 March 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  16. 16.0 16.1 "Fernando Alonso to make sensational return to F1 with Renault in 2021". F1. Formula One Administration. 8 July 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-02. สืบค้นเมื่อ 8 July 2020.
  17. "Ocon to replace Hulkenberg at Renault". motorsport.com. Motorsport Network. 29 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2019. สืบค้นเมื่อ 30 August 2019.
  18. "Racing Point set to become Aston Martin Racing for 2021". F1. 31 January 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
  19. "Wolff doubts Red Bull will have to rely on Renault or Ferrari engines as he rules out Mercedes deal". F1. 9 October 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  20. "Aston Martin reveal name of 2021 F1 challenger ahead of next week's launch". F1. 24 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 24 February 2021.
  21. "The AMR21". Aston Martin Formula One Team. 3 March 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2021. สืบค้นเมื่อ 3 March 2021.
  22. 22.0 22.1 "Vettel to make sensational Racing Point switch in 2021 as they re-brand as Aston Martin". F1. 10 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-29. สืบค้นเมื่อ 10 September 2020.
  23. "Ferrari reveals SF21 name, launch plan ahead of 2021 F1 test". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
  24. "SF21, the New Ferrari Single-Seater – Ferrari.com". Ferrari.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2021. สืบค้นเมื่อ 10 March 2021.
  25. "Leclerc and Ferrari announce multi-year agreement". F1. Formula One Administration. 23 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-07. สืบค้นเมื่อ 23 December 2019.
  26. 26.0 26.1 Coch, Mat (14 May 2020). "Ferrari confirms Sainz as Vettel's replacement". speedcafe.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-17. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
  27. "Haas become final team to reveal 2021 launch date". F1. 25 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2021. สืบค้นเมื่อ 25 February 2021.
  28. "VF-21". Haas F1 Team. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2021. สืบค้นเมื่อ 9 March 2021.
  29. Luke Smith (5 February 2021). "Mazepin set to race under neutral flag after CAS ruling extends to F1". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
  30. 30.0 30.1 "Haas sign F2 racer Nikita Mazepin for 2021 on multi-year deal". F1. Formula One World Championship. 1 December 2020.
  31. "Никита Мазепин и Мик Шумахер выбрали номера в Формуле 1". Autosport.com.ru (ภาษารัสเซีย). 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2 December 2020.
  32. 32.0 32.1 "Mick Schumacher to race for Haas in 2021 as famous surname returns to F1 grid". F1. Formula One World Championship. 2 December 2020.
  33. "Schumacher: "Correrò con il 47"". FormulaPassion.it (ภาษาอิตาลี). 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2 December 2020.
  34. Rencken, Dieter; Collantine, Keith (3 November 2020). ""No nasty surprises" designing Mercedes installation for McLaren MCL35M – Key". RaceFans.net. สืบค้นเมื่อ 3 November 2020.
  35. "McLaren MCL35M Technical Specification". McLaren. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
  36. 36.0 36.1 "Australian Formula 1 star Daniel Ricciardo to join McLaren after spell with Renault". ABC News. 14 May 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
  37. Richards, Giles (10 July 2019). "Lando Norris signs new McLaren contract after superb start to F1 career". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 26 February 2020.
  38. Noble, Jonathan (2 February 2021). "Mercedes announces launch date for 2021 F1 car". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2021. สืบค้นเมื่อ 2 February 2021.
  39. "Mercedes W12: ecco la scheda tecnica". motorsport.com (ภาษาอิตาลี). 2 March 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2 March 2021.
  40. "Mercedes boss plays down Hamilton's name on 2021 entry list". speedcafe.com. 2020-12-12. สืบค้นเมื่อ 2020-12-13.
  41. "Valtteri Bottas signs new deal to drive for Mercedes in 2021". F1. 6 August 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 6 August 2020.
  42. Rencken, Dieter; Collantine, Keith (14 October 2020). "Red Bull will address current car problems in RB16B - Horner". RaceFans. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2020. สืบค้นเมื่อ 18 October 2020.
  43. "Meet The RA621H". Honda.Racing. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
  44. 44.0 44.1 "Perez to partner Verstappen at Red Bull in 2021, as Albon becomes reserve driver". F1. Formula One World Championship. 18 December 2020. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  45. "Max Verstappen commits to Red Bull until the end of 2023 - Driver Market". F1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-07. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.
  46. Smith, Luke. "Williams reveals launch date for 2021 FW43B Formula 1 car". Autosport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
  47. Luca Manacorda (5 March 2021). "La scheda tecnica della Williams FW43B". MotorBox (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ 5 March 2021.
  48. "Russell and Latifi to stay on at Williams in unchanged 2021 driver line-up". F1. 2020-07-16. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-19. สืบค้นเมื่อ 2020-07-16.
  49. "Formula 1: Williams confirm George Russell through 2021". Beyond the Flag. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2019. สืบค้นเมื่อ 5 October 2019.
  50. "2020 & 2021 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
  51. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ McLarenMercedes
  52. "Aston Martin Lagonda Global Holdings plc". London Stock Exchange. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-31. สืบค้นเมื่อ 31 January 2020.
  53. Smith, Luke (12 May 2020). "Ferrari announces Sebastian Vettel split". Autosport. สืบค้นเมื่อ 12 May 2020.
  54. "Sebastian Vettel joining Aston Martin for F1 2021 replacing Sergio Perez". Sky Sports. 10 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 2020-09-10.
  55. "Perez signs three-year contract extension with Racing Point". F1. 30 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-11. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
  56. Coch, Mat (19 December 2020). "Perez replaces Albon at Red Bull for 2021 F1 season". speedcafe.com. Speedcafe.com. สืบค้นเมื่อ 20 December 2020.
  57. "Grosjean and Magnussen announce they are to leave Haas at the end of 2020". F1. 22 October 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-24. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
  58. "FIA Formula 2 Championship 2020 standings". Driver Database. สืบค้นเมื่อ 2020-12-08.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  59. "2019 Formula One Sporting Regulations". fia.com. 12 March 2019. pp. 3–4, 41. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2019. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.

หมายเหตุ[แก้]

  1. นีคีตา มาเซปินเป็นชาวรัสเซีย แต่เขาจะแข่งขันในฐานะผู้เข้าแข่งขันที่เป็นกลาง เนื่องจากศาลอนุญาโตตุลาการกีฬาประกาศห้ามรัสเซียแข่งขันในการแข่งขันชิงแชมป์โลก ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ที่ตอบสนองจากกรณีการใช้สารกระตุ้นกับนักกีฬาชาวรัสเซียซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐ[29]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]