ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2023

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวัน
ชิงแชมป์โลก
2023
ก่อนหน้า: 2022 ถัดไป: 2024

 

มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เป็นแชมป์ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2023

การแข่งขัน เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2023 (อังกฤษ: 2023 FIA Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 74 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกที่รับรองโดย สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลการแข่งขันรถยนต์ระดับนานาชาติ ในฐานะการแข่งขันระดับสูงสุดของการแข่งรถประเภทล้อเปิด (open-wheel racing cars) โดยการแข่งขันชิงแชมป์โลกจะมีกำหนดการเข้าร่วมการแข่งขันหรือกรังด์ปรีซ์ที่จัดขึ้นทั่วโลก นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ ในปีนี้จะมีการแข่งขัน 23 กรังด์ปรีซ์ ซึ่งจะจัดขึ้นทั่วโลก [1]

นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ โดยที่ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน นักแข่งของ เร็ดบุลเรซซิง เป็นแชมป์โลกประเภทนักขับคนปัจจุบัน ในขณะที่ทีมของเขาเป็นแชมป์โลกประเภทผู้ผลิต [2] [3]

ผู้เข้าแข่งขัน[แก้]

ทีมและนักขับต่อไปนี้อยู่ภายใต้สัญญาที่จะเข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2023

ทีมและนักขับในการแข่งขันฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2023
ทีม ผู้ผลิต โครงรถ เครื่องยนต์ นักขับ
หมายเลข ชื่อ รอบที่ลงแข่ง
Switzerland อัลฟาโรเมโอเอฟวันทีมสเตก[4] อัลฟาโรเมโอ-แฟร์รารี C43[5] แฟร์รารี 066/10 24 จีน โจว กวนยู 1-13
77 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส 1-13
Italy สกูเดเรียอัลฟาทอรี อัลฟาทอรี-ฮอนด้าอาร์บีพีที AT04[6] ฮอนด้า RBPTH001[7] 21 เนเธอร์แลนด์ นิก เดอ ฟรีส 1-10
3 ออสเตรเลียแดเนียล ริคาร์โด 11-13
3 นิวซีแลนด์เลียม ลอว์สัน 13
22 ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ 1-13
France เบเวเทอัลพีนเอฟวันทีม อัลพีน-เรอโนลต์ A523[8] เรอโนลต์ อี-เทค อาร์อี RE23 10 ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี 1-13
31 ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน 1-13
United Kingdom แอสตันมาร์ติน อารัมโค คอกนิแซนต์เอฟวันทีม แอสตันมาร์ติน-เมอร์เซเดส AMR23[9] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี F1 M14 14 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 1-13
18 แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 1-13
Italy สกูเดเรียแฟร์รารี แฟร์รารี SF-23[10] แฟร์รารี 066/10[11] 16 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ 1-13
55 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ 1-13
United States มันนี่แกรมฮาสเอฟวันทีม ฮาส-แฟร์รารี VF-23 แฟร์รารี 066/10 20 เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน 1-13
27 เยอรมนี นิโค ฮึลเคินแบร์ค 1-13
United Kingdom แม็กลาเรนเอฟวันทีม แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส MCL60[12] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี F1 M14[13] 4 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส 1-13
81 ออสเตรเลีย ออสการ์ ปิแอสทรี 1-13
Germany เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสฟอร์มูลาวันทีม เมอร์เซเดส F1 W14[14] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี F1 M14 44 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 1-13
63 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ 1-13
Austria ออราเคิลเร็ดบุลเรซซิง เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้าอาร์บีพีที RB19[15] ฮอนด้า RBPTH001 1 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 1-13
11 เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ 1-13
United Kingdom วิลเลียมส์เรซซิง วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส FW45[16] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี F1 M14[17] 2 สหรัฐ โลแกน ซาร์เจนท์ 1-13
23 ไทย อเล็กซานเดอร์ อัลบอน 1-13
ที่มา:[18]

ปฏิทินการแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันในปี 2023 ประกอบไปด้วยการแข่งขัน 22 รายการ [1]

ลำดับ การแข่งขัน สนาม วันแข่งขัน
1 บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ บาห์เรน บาห์เรนอินเตอร์แนชันแนลเซอร์กิต ซาเกีย 5 มีนาคม
2 ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ ซาอุดีอาระเบีย ญิดดะฮ์คอร์นิชเซอร์กิต ญิดดะฮ์ 19 มีนาคม
3 ออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์ ออสเตรเลีย อัลเบิรต์พาร์คเซอร์กิต เมลเบิร์น 2 เมษายน
4 อาเซอร์ไบจานกรังด์ฟรีซ์ อาเซอร์ไบจาน บากูซิตีเซอร์กิต บากู 30 เมษายน
5 ไมอามีกรังด์ปรีซ์ สหรัฐ ไมอามีอินเตอร์แนชันแนลออโตโดรม ไมอามีการ์เดนส์, ฟลอริดา 7 พฤษภาคม
6 โมนาโกกรังด์ปรีซ์ โมนาโก เซอร์กิตเดอโมนาโก โมนาโก 28 พฤษภาคม
7 สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สเปน เซอร์กิตเดบาร์เซโลนา-กาตาลุญญา มอนเมโล 4 มิถุนายน
8 แคนาเดียนกรังด์ปรีซ์ แคนาดา เซอร์กิตกิลเลสวิลล์เนิฟ มอนทรีออล 18 มิถุนายน
9 ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ ออสเตรีย เร็ดบุลริง สปีลเบิอร์ก 2 กรกฎาคม
10 บริติชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ซิลเวอร์สโตนเซอร์กิต ซิลเวอร์สโตน 9 กรกฎาคม
11 ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ ฮังการี ฮังการอริง โมจเยอโรด 23 กรกฎาคม
12 เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ เบลเยียม เซอร์กิตเดอสปา-ฟรองโกชองส์ สเตฟโล 30 กรกฎาคม
13 ดัตช์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ เซอร์กิตซันต์โฟร์ต ซันต์โฟร์ต 27 สิงหาคม
14 อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ อิตาลี มอนซาเซอร์กิต มอนซา 3 กันยายน
15 สิงคโปร์กรังด์ปรีซ์ สิงคโปร์ มารีนาเบย์สตรีตเซอร์กิต สิงคโปร์ 17 กันยายน
16 เจแปนนีสกรังด์ปรีซ์ ญี่ปุ่น ซูซูกะอินเตอร์เนชั่นแนลเรซซิงคอร์ส ซูซูกะ 24 กันยายน
17 การ์ตาร์กรังด์ปรีซ์ ประเทศกาตาร์ ลูซัยล์อินเตอร์แนชั่นแนลเซอร์กิค ลูซัยล์ 8 ตุลาคม
18 ยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์ สหรัฐ เซอร์กิตออฟดิอเมริกา ออสติน, เท็กซัส 22 ตุลาคม
19 เม็กซิโกซิตีกรังด์ปรีซ์ เม็กซิโก ออโตโดรโมเอร์โรดริเกซ เม็กซิโกซิตี 29 ตุลาคม
20 เซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ บราซิล อินเตอร์ลากอสเซอร์กิต เซาเปาลู 5 พฤศจิกายน
21 ลาสเวกัสกรังด์ปรีซ์ สหรัฐ ลาสเวกัสสตรีทเซอร์กิต ลาสเวกัส เนวาดา 18 พฤศจิกายน
22 อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ยาสมารีนาเซอร์กิต อาบูดาบี 26 พฤศจิกายน

ผลการแข่งขันและตารางคะแนน[แก้]

กรังด์ปรีซ์[แก้]

ลำดับ การแข่งขัน ตำแหน่งโพล ทำรอบเร็วที่สุด ผู้ชนะ ทีมผู้ชนะ
1 บาห์เรน บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน จีน โจว กวนยู เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
2 ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
3 ออสเตรเลีย ออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
4 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานกรังด์ฟรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
5 สหรัฐ ไมอามีกรังด์ปรีซ์ เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
6 โมนาโก โมนาโกกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
7 สเปน สเปนิชกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
8 แคนาดา แคนาเดียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
9 ออสเตรีย ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
10 สหราชอาณาจักร บริติชกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
11 ฮังการี ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
12 เบลเยียม เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
13 เนเธอร์แลนด์ ดัตช์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
14 อิตาลี อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ ออสเตรเลีย ออสการ์ ปิแอสทรี เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
15 สิงคโปร์ สิงคโปร์กรังด์ปรีซ์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ Italy แฟร์รารี
16 ญี่ปุ่น เจแปนนีสกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
17 ประเทศกาตาร์ การ์ตาร์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
18 สหรัฐ ยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
19 เม็กซิโก เม็กซิโกซิตีกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
20 บราซิล เซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
21 สหรัฐ ลาสเวกัสกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ ออสเตรเลีย ออสการ์ ปิแอสทรี เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
22 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที
ที่มา:[19]

ระบบคะแนน[แก้]

คะแนนจะมอบให้กับนักขับ 10 อันดับแรกและนักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด ซึ่งนักขับที่ทำรอบที่เร็วที่สุดจะต้องอยู่ใน 10 อันดับแรกเพื่อรับคะแนน และคะแนนรอบสปรินต์จะมอบให้กับนักขับ 8 อันดับแรก ในกรณีที่คะแนนเสมอกันระบบนับถอยหลังจะถูกใช้โดยที่นักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุด คะแนนจะมอบให้สำหรับทุกการแข่งขันโดยใช้ระบบต่อไปนี้:

อันดับ  1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   FL 
กรังด์ปรีซ์ 25 18 15 12 10 8 6 4 2 1 1
สปรินต์ 8 7 6 5 4 3 2 1

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ[แก้]

อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
AUS
ออสเตรเลีย
AZE
อาเซอร์ไบจาน
MIA
สหรัฐ
MON
โมนาโก
ESP
สเปน
CAN
แคนาดา
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BEL
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
SIN
สิงคโปร์
JPN
ญี่ปุ่น
QAT
ประเทศกาตาร์
USA
สหรัฐ
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
LVG
สหรัฐ
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 1P 2F 1P 23 1F 1P 1PF 1P 1P 1 F 1PF 1F 11 1P 1 5 1PF 1P 2 F 11 1 1P 1 1 1PF 575
2 เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ 2 1P 5F 11 2P 16 4 6F 32 6 3 2 4 2 8 Ret 10 45 Ret 43 3 4 285
3 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 5 5 2 67 6 4F 2 3 8 3 4P 47 F 6 6 3F 5 Ret5 DSQ2 2F 87 7 9 234
4 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 3 3 3 46 3 2 7 2 55 7 9 5 2F 9 15 8 68 Ret Ret 3 9 7 206
5 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ Ret 7 Ret 3P 2 7 6 11 4 2 9 7 3P 5 Ret 4 4 4 5 DSQP 3 3P DNS5 2P 2 206
6 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส 17 17 6 9 17 9 17 13 4 2 2 76 7 8 2 2 33 24 5 22 F Ret 5 205
7 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ 4 6 12 55 5 8 5 5 63 10 8 Ret4 5 3P 1P 6 DNS6 36 4 68 6 18† 200
8 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ 7 4 Ret 84 F 4 5 3 Ret 78 5 6 68 17 5 16† 7 44 58 6 Ret4 8 3 175
9 ออสเตรเลีย ออสการ์ ปิแอสทรี Ret 15 8 11 19 10 13 11 16 4 5 Ret2 9 12F 7 3 21 Ret 8 14 10F 6 97
10 แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 6 Ret 4 78 12 Ret 6 9 94 14 10 9 11 16 WD Ret 11 7 17† 5 5 10 74
11 ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี 9 9 13† 14 8 7 10 12 10 18† Ret 113 3 15 6 10 12 67 11 7 11 13 62
12 ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน Ret 8 14† 15 9 3 8 8 147 Ret Ret 8 10 Ret Ret 9 7 Ret 10 10 4 12 58
13 ไทย อเล็กซานเดอร์ อัลบอน 10 Ret Ret 12 14 14 16 7 11 8 11 14 8 7 11 Ret 137 9 9 Ret 12 14 27
14 ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ 11 11 10 10 11 15 12 14 19 16 15 10 15 DNS Ret 12 15 8F 12 96 18† 8 17
15 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส 8 18 11 18 13 11 19 10 15 12 12 12 14 10 Ret Ret 8 12 15 Ret 17 19 10
16 เยอรมนี นิโค ฮึลเคินแบร์ค 15 12 7 17 15 17 15 15 Ret6 13 14 18 12 17 13 14 16 11 13 12 19† 15 9
17 ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด 13 16 WD 15 7 13 14 11 6
18 จีน โจว กวนยู 16F 13 9 Ret 16 13 9 16 12 15 16 13 Ret 14 12 13 9 13 14 Ret 15 17 6
19 เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน 13 10 17† 13 10 19† 18 17 18 Ret 17 15 16 18 10 15 14 14 Ret Ret 13 20 3
20 นิวซีแลนด์ เลียม ลอว์สัน 13 11 9 11 17 2
21 สหรัฐ โลแกน ซาร์เจนท์ 12 16 16† 16 20 18 20 Ret 13 11 18† 17 Ret 13 14 Ret Ret 10 16† 11 16 16 1
22 เนเธอร์แลนด์ นิก เดอ ฟรีส 14 14 15† Ret 18 12 14 18 17 17 0
ที่มา:[20]
คำสำคัญ
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน อันดับ 2
ทองแดง อันดับ 3
เขียว อันดับอื่นที่ได้คะแนน
ฟ้า อันดับอื่นที่ไม่ได้คะแนน
ไม่ถูกจัดอันดับ แต่จบการแข่งขัน (NC)
ม่วง ไม่ถูกจัดอันดับ เพราะถอนตัวระหว่างแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ได้เข้าร่วมรอบก่อนคัดเลือก (DNPQ)
ดำ ถูกตัดสิทธิ์ (DSQ)
ขาว ไม่ได้ออกตัว (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึกซ้อม (DNP)
ได้รับการยกเว้น (EX)
ไม่ได้เข้าร่วมงาน (DNA)
ถอนตัว (WD)
ตัวย่อ หมายถึง
ตัวยก อันดับที่ได้คะแนนในการแข่งขันรอบสปรินต์
P ตำแหน่งโพล
F ทำรอบเร็วที่สุด

หมายเหตุ:

  • † – นักขับที่ไม่จบการแข่งขัน แต่ถูกจัดอันดับเพราะแข่งขันมากกว่า 90% ของระยะทางการแข่งขัน


อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Formula 1 update on the 2023 calendar". Formula1.com. สืบค้นเมื่อ 17 January 2023.
  2. "Verstappen crowned world champion with Japanese GP victory after late penalty for Leclerc". Formula1.com. 9 October 2022. สืบค้นเมื่อ 10 October 2022.
  3. "Verstappen beats Hamilton to United States GP victory as Red Bull secure an emotional constructors' title win". Formula1.com. 23 October 2022. สืบค้นเมื่อ 23 October 2022.
  4. "Record-breaking title partnership sees launch of Alfa Romeo F1 Team Stake for 2023 and beyond". Sauber Group. 27 January 2023. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-01-27. สืบค้นเมื่อ 27 January 2023.
  5. "Alfa Romeo confirm launch date for 2023 challenger". Formula1.com. 20 January 2023. สืบค้นเมื่อ 20 January 2023.
  6. "AlphaTauri unveil refreshed AT04 in New York". racingnews365.com. 11 February 2023. สืบค้นเมื่อ 12 February 2023.
  7. "The AT04". scuderia.alphatauri.com. 11 February 2023. สืบค้นเมื่อ 12 February 2023.
  8. "Alpine unveil A523 to complete the F1 2023 launch season". Racingnews365.com. 16 February 2023.
  9. "Introducing the AMR23". astonmartinf1.com.
  10. "A Week to Launch: The Car Will Be Called SF-23". Ferrari. 7 February 2023. สืบค้นเมื่อ 7 February 2023.
  11. "Discover the SF-23". Ferrari.com. สืบค้นเมื่อ 14 February 2023.
  12. "McLaren announce name for 2023 F1 car – and it's not what you would expect". Formula 1.com. 8 February 2023. สืบค้นเมื่อ 8 February 2023.
  13. "McLaren MCL60 technical specification". McLaren Racing (ภาษาอังกฤษ). McLaren Racing Ltd. 2023-02-13. สืบค้นเมื่อ 2023-02-13.
  14. "W14 First Words: Firing Up Our 2023 Mercedes-AMG F1 Car!". MercedesAMGF1.com. สืบค้นเมื่อ 23 December 2022.
  15. "You Host, We'll Launch". RedBullRacing.com. 6 January 2023. สืบค้นเมื่อ 9 January 2023.
  16. "A Beginner's Guide to Formula 1 in 2023". williamsf1.com. 26 January 2023. สืบค้นเมื่อ 27 January 2023.
  17. "Williams Mercedes FW45 Technical Specification". williamsf1.com. 6 February 2023. สืบค้นเมื่อ 6 February 2023.
  18. "2023 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. 15 December 2022. สืบค้นเมื่อ 15 December 2022.
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2023 calendar2
  20. "Championship Points" (PDF). สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2023.