ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตวังทองหลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[เขตห้วยขวาง]] มีคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[เขตห้วยขวาง]] มีคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต


ตัวพระนคร ห่างออกไปประมาณ 16 [[กิโลเมตร]] ถือเป็นเขตชานเมืองซึ่งส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาเวิ้งว้างแต่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะที่ตั้งชุมชนบริเวณ[[คลองแสนแสบ]]ซึ่งมีลักษณะคดโค้งเป็นห้วงน้ำลึกหรือ "วัง" ขนาดใหญ่ ตลอดริมฝั่งคลองในช่วงนี้รวมไปถึง[[คลองเจ้าคุณสิงห์]]จะมีต้นทองหลาง ([[:en:Erythrina_fusca|ทองหลางน้ำ]]) ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก<ref>ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตวังทองหลาง." '''ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย.''' เข้าถึงได้จาก: [http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=01-154 http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=01-154] 2551. สืบค้น 30 มีนาคม 2555.</ref> นอกจากนี้ ที่ดินส่วนใหญ่ยังเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ผู้คนจึงเรียกพื้นที่แถบนี้ว่า "วังทองหลาง"<ref>ThaiTambon.com. "ข้อมูลทั่วไป แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร." [ออนไลน์]. http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501 http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501] [ม.ป.ป.]. สืบค้น 25 ตุลาคม 2551.</ref><ref>สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพ
== ที่มาของชื่อเขต ==
พื้นที่เขตวังทองหลางในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทุ่งบางกะปิ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวพระนคร ห่างออกไปประมาณ 16 [[กิโลเมตร]] ถือเป็นเขตชานเมืองซึ่งส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาเวิ้งว้างแต่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะที่ตั้งชุมชนบริเวณ[[คลองแสนแสบ]]ซึ่งมีลักษณะคดโค้งเป็นห้วงน้ำลึกหรือ "วัง" ขนาดใหญ่ ตลอดริมฝั่งคลองในช่วงนี้รวมไปถึง[[คลองเจ้าคุณสิงห์]]จะมีต้นทองหลาง ([[:en:Erythrina_fusca|ทองหลางน้ำ]]) ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก<ref>ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตวังทองหลาง." '''ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย.''' เข้าถึงได้จาก: [http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=01-154 http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=01-154] 2551. สืบค้น 30 มีนาคม 2555.</ref> นอกจากนี้ ที่ดินส่วนใหญ่ยังเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ผู้คนจึงเรียกพื้นที่แถบนี้ว่า "วังทองหลาง"<ref>ThaiTambon.com. "ข้อมูลทั่วไป แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร." [ออนไลน์]. http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501 http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501] [ม.ป.ป.]. สืบค้น 25 ตุลาคม 2551.</ref><ref>สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตวังทองหลาง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://203.155.220.217/localmuseum/watthonglang.htm http://203.155.220.217/localmuseum/watthonglang.htm] [ม.ป.ป.]. สืบค้น 30 มีนาคม 2555.</ref> อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันได้มีการแบ่งและจัดตั้งพื้นที่การปกครองในระดับแขวงขึ้นใหม่ ส่งผลให้ชื่อและท้องที่แขวงวังทองหลางทุกวันนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับย่านวังทองหลางดั้งเดิมอีกต่อไป


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:36, 14 พฤศจิกายน 2561

เขตวังทองหลาง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Wang Thonglang
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตวังทองหลาง
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตวังทองหลาง
พิกัด: 13°47′7″N 100°36′43″E / 13.78528°N 100.61194°E / 13.78528; 100.61194
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่
 • ทั้งหมด18.905[2] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2560)
 • ทั้งหมด112,116 [1] คน
 • ความหนาแน่น5,930.49 คน/ตร.กม. (15,359.9 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10310
รหัสภูมิศาสตร์1045
ที่อยู่
สำนักงาน
อาคารบี สิริอุสพลาซ่า เลขที่ 2553
ถนนลาดพร้าว แขวงคลองเจ้าคุณสิงห์ เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310
เว็บไซต์http://www.bangkok.go.th/wangthonglang
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตวังทองหลาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่

ที่ตั้งและอาณาเขต

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตลาดพร้าวและเขตบางกะปิ มีคลองทรงกระเทียม ถนนโชคชัย 4 ถนนสังคมสงเคราะห์ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม และคลองทรงกระเทียมเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางกะปิ มีคลองจั่น คลองลำพังพวย ถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) ถนนลาดพร้าว และคลองจั่นเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางกะปิ มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตห้วยขวาง มีคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต

ตัวพระนคร ห่างออกไปประมาณ 16 กิโลเมตร ถือเป็นเขตชานเมืองซึ่งส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาเวิ้งว้างแต่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะที่ตั้งชุมชนบริเวณคลองแสนแสบซึ่งมีลักษณะคดโค้งเป็นห้วงน้ำลึกหรือ "วัง" ขนาดใหญ่ ตลอดริมฝั่งคลองในช่วงนี้รวมไปถึงคลองเจ้าคุณสิงห์จะมีต้นทองหลาง (ทองหลางน้ำ) ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก[3] นอกจากนี้ ที่ดินส่วนใหญ่ยังเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ผู้คนจึงเรียกพื้นที่แถบนี้ว่า "วังทองหลาง"[4]อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> ในปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกยุบรวมกับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[5] และในปี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร[6] ซึ่งได้เปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ด้วย ตำบลวังทองหลางได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงวังทองหลาง อยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ

จนกระทั่งในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองใหม่ โดยรวมพื้นที่แขวงวังทองหลาง พื้นที่บางส่วนของแขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ และพื้นที่บางส่วนของแขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว[2] จัดตั้งเป็น เขตวังทองหลาง เพื่อประโยชน์แก่การปกครอง การให้บริการของรัฐ และความสะดวกของประชาชน และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ทางกรุงเทพมหานครก็ได้ประกาศตั้งแขวงวังทองหลางเต็มพื้นที่เขตวังทองหลางอย่างเป็นทางการ เพื่อความชัดเจนในการปกครอง โดยประกาศทั้ง 2 ฉบับมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน[7][8] ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่สำนักงานเขตวังทองหลางได้เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกพร้อมกับสำนักงานเขตแยกใหม่ทางฝั่งพระนครอีก 5 แห่ง ได้แก่ เขตสายไหม[9] เขตคันนายาว[9] เขตสะพานสูง[9] เขตหลักสี่[10] และเขตคลองสามวา[11]

ต่อมาในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2545 กระทรวงมหาดไทยประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง โดยแบ่งพื้นที่เขตวังทองหลางเฉพาะทางฟากเหนือของถนนสังคมสงเคราะห์ไปรวมกับแขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าวแทน มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม ปีเดียวกัน[12] ทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวที่จะไปติดต่อราชการ

การแบ่งเขตการปกครอง

วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ลงนามในประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงวังทองหลาง และตั้งแขวงสะพานสอง แขวงคลองเจ้าคุณสิงห์ และแขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง[13] โดยมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 21 กันยายน ปีเดียวกัน ส่งผลให้ปัจจุบัน เขตวังทองหลางแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง (khwaeng) โดยใช้ถนนลาดพร้าวและถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นแบ่งเขต ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2560)
จำนวนบ้าน
(พฤษภาคม 2560)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2560)
วังทองหลาง Wang Thonglang
5.314
25,205
13,166
4,743.13
สะพานสอง Saphan Song
1.964
12,206
6,250
6,214.86
คลองเจ้าคุณสิงห์ Khlong Chaokhun Sing
4.129
29,708
13,475
7,194.96
พลับพลา Phlapphla
7.498
44,997
26,890
6,001.20
ทั้งหมด
18.905
112,116
59,781
5,930.49

ประชากร

การคมนาคม

ในพื้นที่เขตวังทองหลางมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

สถานที่สำคัญ

  • พิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
  • โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
  • สวนสาธารณะวังทอง
  • โรงเรียนพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)
  • โรงเรียนอิสลามสันติชน
  • โรงเรียนบางกอกศึกษา
  • โกลเด้นเพลซ
  • โรงเรียนอุดมศึกษา

อ้างอิง

  1. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 3 กุมภาพันธ์ 2561.
  2. 2.0 2.1 สำนักงานเขตวังทองหลาง. ประวัติความเป็นมาของเขตวังทองหลาง. สืบค้น 25 ตุลาคม 2551.
  3. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตวังทองหลาง." ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก: http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=01-154 2551. สืบค้น 30 มีนาคม 2555.
  4. ThaiTambon.com. "ข้อมูลทั่วไป แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร." [ออนไลน์]. http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501 http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=104501] [ม.ป.ป.]. สืบค้น 25 ตุลาคม 2551.
  5. "ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๔" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 88 (พิเศษ 144 ก): 816–824. 21 ธันวาคม 2514.
  6. "ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 89 (พิเศษ 190 ก): 187–201. 13 ธันวาคม 2515.
  7. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้งเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 20–24. 18 พฤศจิกายน 2540.
  8. "ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 121 ง): 23–25. 24 ธันวาคม 2540.
  9. 9.0 9.1 9.2 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางเขน เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม เขตประเวศ และตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 6–19. 18 พฤศจิกายน 2540.
  10. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตดอนเมืองและตั้งเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 2–5. 18 พฤศจิกายน 2540.
  11. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 25–30. 18 พฤศจิกายน 2540.
  12. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 119 (พิเศษ 22 ง): 10–14. 11 มีนาคม 2545.
  13. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/137/55.PDF
  14. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

แหล่งข้อมูลอื่น