รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฝั่งธนบุรี)

เขต (อังกฤษ: district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง

รายชื่อ

ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมี 50 เขต ต่อไปนี้คือรายชื่อเขตทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร (เรียงตามรหัสเขตการปกครองที่ใช้ในราชการ)

  1. เขตพระนคร
  2. เขตดุสิต
  3. เขตหนองจอก
  4. เขตบางรัก
  5. เขตบางเขน
  6. เขตบางกะปิ
  7. เขตปทุมวัน
  8. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  9. เขตพระโขนง
  10. เขตมีนบุรี
  11. เขตลาดกระบัง
  12. เขตยานนาวา
  13. เขตสัมพันธวงศ์
  14. เขตพญาไท
  15. เขตธนบุรี
  16. เขตบางกอกใหญ่
  17. เขตห้วยขวาง
  18. เขตคลองสาน
  19. เขตตลิ่งชัน
  20. เขตบางกอกน้อย
  21. เขตบางขุนเทียน
  22. เขตภาษีเจริญ
  23. เขตหนองแขม
  24. เขตราษฎร์บูรณะ
  25. เขตบางพลัด
  1. เขตดินแดง
  2. เขตบึงกุ่ม
  3. เขตสาทร
  4. เขตบางซื่อ
  5. เขตจตุจักร
  6. เขตบางคอแหลม
  7. เขตประเวศ
  8. เขตคลองเตย
  9. เขตสวนหลวง
  10. เขตจอมทอง
  11. เขตดอนเมือง
  12. เขตราชเทวี
  13. เขตลาดพร้าว
  14. เขตวัฒนา
  15. เขตบางแค
  16. เขตหลักสี่
  17. เขตสายไหม
  18. เขตคันนายาว
  19. เขตสะพานสูง
  20. เขตวังทองหลาง
  21. เขตคลองสามวา
  22. เขตบางนา
  23. เขตทวีวัฒนา
  24. เขตทุ่งครุ
  25. เขตบางบอน

 แผนที่

ลำดับการจัดตั้ง

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2516

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2516 มี 24 เขต ได้แก่[1]

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2537

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540

เขตที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541

ฝั่งพระนคร

ภาพทัศนียภาพกรุงเทพมหานครจากอาคารฝั่งธนบุรีหันออกสู่ฝั่งพระนคร

ฝั่งพระนคร คือพื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ในอดีตคือจังหวัดพระนคร ภายหลังรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรีเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และกรุงเทพมหานครในเวลาต่อมา แบ่งเขตออกเป็น 35 เขต ดังนี้

  1. เขตคลองเตย (แยกมาจากเขตพระโขนงเมื่อ พ.ศ. 2532)
  2. เขตคลองสามวา (แยกมาจากเขตมีนบุรีเมื่อ พ.ศ. 2540)
  3. เขตคันนายาว (แยกมาจากเขตลาดพร้าวและเขตบึงกุ่มเมื่อ พ.ศ. 2540)
  4. เขตจตุจักร (แยกมาจากเขตบางเขนเมื่อ พ.ศ. 2532)
  5. เขตดอนเมือง (แยกมาจากเขตบางเขนเมื่อ พ.ศ. 2532)
  6. เขตดินแดง (แยกมาจากเขตพญาไท เขตราชเทวี และเขตห้วยขวางเมื่อ พ.ศ. 2537)
  7. เขตดุสิต
  8. เขตบางกะปิ
  9. เขตบางเขน
  10. เขตบางคอแหลม (แยกมาจากเขตยานนาวาเมื่อ พ.ศ. 2532)
  11. เขตบางซื่อ (แยกมาจากเขตดุสิตเมื่อ พ.ศ. 2532)
  12. เขตบางนา (แยกมาจากเขตพระโขนงเมื่อ พ.ศ. 2541)
  13. เขตบางรัก
  14. เขตบึงกุ่ม (แยกมาจากเขตบางกะปิเมื่อ พ.ศ. 2532)
  15. เขตปทุมวัน
  16. เขตประเวศ (แยกมาจากเขตพระโขนงเมื่อ พ.ศ. 2532)
  17. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  18. เขตพญาไท
  19. เขตพระโขนง
  20. เขตพระนคร
  21. เขตมีนบุรี
  22. เขตยานนาวา
  23. เขตราชเทวี (แยกมาจากเขตพญาไทเมื่อ พ.ศ. 2532)
  24. เขตลาดกระบัง
  25. เขตลาดพร้าว (แยกมาจากเขตบางกะปิเมื่อ พ.ศ. 2532)
  26. เขตวังทองหลาง (แยกมาจากเขตบางกะปิเมื่อ พ.ศ. 2540)
  27. เขตวัฒนา (แยกมาจากเขตคลองเตยเมื่อ พ.ศ. 2541)
  28. เขตสวนหลวง (แยกมาจากเขตคลองเตยและเขตประเวศเมื่อ พ.ศ. 2537)
  29. เขตสะพานสูง (แยกมาจากเขตบึงกุ่มและเขตประเวศเมื่อ พ.ศ. 2540)
  30. เขตสัมพันธวงศ์
  31. เขตสาทร (แยกมาจากเขตยานนาวาเมื่อ พ.ศ. 2532)
  32. เขตสายไหม (แยกมาจากเขตบางเขนเมื่อ พ.ศ. 2540)
  33. เขตหนองจอก
  34. เขตหลักสี่ (แยกมาจากเขตดอนเมืองเมื่อ พ.ศ. 2540)
  35. เขตห้วยขวาง

ฝั่งธนบุรี

แม่น้ำเจ้าพระยาแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็นสองฝั่งอย่างชัดเจน ในภาพ (ฝั่งซ้าย) คือ ฝั่งธนบุรี (ฝั่งขวา) คือ ฝั่งพระนคร โดยมีสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพุทธ) และสะพานพระปกเกล้า เป็นตัวเชื่อม
สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปัจจุบันคือโรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ มองจากแม่น้ำเจ้าพระยา ในอดีตเป็นสถานีรถไฟที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย โดยบริเวณด้านซ้ายโรงพยาบาล (ด้านขวาในภาพ) คือ ปากคลองบางกอกน้อยที่แยกตัวจากแม่น้ำเจ้าพระยา

หลังจากปี พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีเข้ากับจังหวัดพระนคร เป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และกรุงเทพมหานครในเวลาต่อมา สภาพของจังหวัดธนบุรีจึงกลายเป็น ฝั่งธนบุรี หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ฝั่งธนฯ คือ พื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร

ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ฝั่งธนบุรีมีประชากรทั้งสิ้น 1,759,964 คน มีพื้นที่ 450.119 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ในฝั่งธนบุรีประกอบด้วยเขตต่าง ๆ จำนวน 15 เขต ดังนี้ [22]

  1. เขตธนบุรี
  2. เขตบางกอกใหญ่
  3. เขตคลองสาน
  4. เขตตลิ่งชัน
  5. เขตบางกอกน้อย
  6. เขตบางขุนเทียน
  7. เขตภาษีเจริญ
  8. เขตหนองแขม
  9. เขตราษฎร์บูรณะ
  10. เขตบางพลัด (แยกมาจากเขตบางกอกน้อย เมื่อ พ.ศ. 2532)
  11. เขตจอมทอง (แยกมาจากจากเขตบางขุนเทียน เมื่อ พ.ศ. 2532)
  12. เขตบางแค (แยกมาจากเขตภาษีเจริญและเขตหนองแขม เมื่อ พ.ศ. 2540)
  13. เขตทวีวัฒนา (แยกมาจากเขตตลิ่งชัน เมื่อ พ.ศ. 2541)
  14. เขตทุ่งครุ (แยกมาจากเขตราษฎร์บูรณะ เมื่อ พ.ศ. 2540)
  15. เขตบางบอน (แยกมาจากเขตบางขุนเทียน เมื่อ พ.ศ. 2540)

รายชื่อเขตเรียงตามสถิติประชากร

จำนวนประชากร

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้โอนไปยังเขตอื่นหรือแยกออกมาใหม่เมื่อเทียบกับปีก่อน
  • พ.ศ. 2528-2535 : ข้อมูลอ้างอิงเป็นแบบ Excel
  • พ.ศ. 2536-2538 : 12 เขตใหม่ยังไม่จัดตั้งขึ้น
  • พ.ศ. 2539-2541 : จำนวนประชากรของเขตเก่าลดลง เพราะแบ่งพื้นที่ไปจัดตั้งเป็นเขตใหม่

ความหนาแน่นของประชากร

      หมายถึงความหนาแน่นประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงความหนาแน่นประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
  • การหาความหนาแน่น คือ จำนวนประชากร ÷ พื้นที่เขต

อ้างอิง

  • "วิวัฒนาการของกรุงเทพมหานคร". กรุงเทพมหานคร. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-31. สืบค้นเมื่อ 2008-06-25.
  • "50 สำนักงานเขต". กรุงเทพมหานคร. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-31. สืบค้นเมื่อ 2008-06-25.
  1. "พระราชกฤษฎีกาแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็นเขต พ.ศ. ๒๕๑๖" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 90 (พิเศษ 107 ก): 4–7. 23 สิงหาคม 2516.
  2. 2.0 2.1 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้งเขตลาดพร้าวและเขตบึงกุ่ม" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 155 ง): 18. 16 กันยายน 2532.
  3. 3.0 3.1 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางเขนและตั้งเขตดอนเมืองและเขตจตุจักร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 155 ง): 17. 16 กันยายน 2532. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-09. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  4. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกอกน้อยและตั้งเขตบางพลัด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 10. 24 พฤศจิกายน 2532. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-04. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  5. 5.0 5.1 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตยานนาวา และตั้งเขตสาธรและเขตบางคอแหลม" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 17. 24 พฤศจิกายน 2532.
  6. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตดุสิตและตั้งเขตบางซื่อ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 8. 24 พฤศจิกายน 2532.
  7. 7.0 7.1 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนงและตั้งเขตคลองเตยและเขตประเวศ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 13. 24 พฤศจิกายน 2532.
  8. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางขุนเทียนและตั้งเขตจอมทอง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 11. 24 พฤศจิกายน 2532.
  9. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพญาไทและตั้งเขตราชเทวี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 208 ง): 9. 24 พฤศจิกายน 2532. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  10. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย เขตประเวศ และตั้งเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 110 (พิเศษ 184 ง): 7–10. 10 พฤศจิกายน 2536.
  11. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตห้วยขวาง และตั้งเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 110 (พิเศษ 184 ง): 3–6. 10 พฤศจิกายน 2536. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  12. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตดอนเมืองและตั้งเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 2–5. 18 พฤศจิกายน 2540.
  13. 13.0 13.1 13.2 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางเขน เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม เขตประเวศ และตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 6–19. 18 พฤศจิกายน 2540. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-07. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  14. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้งเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 20–24. 18 พฤศจิกายน 2540.
  15. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 25–30. 18 พฤศจิกายน 2540.
  16. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย และตั้งเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 31–34. 18 พฤศจิกายน 2540.
  17. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตหนองแขม เขตภาษีเจริญ และตั้งเขตบางแค กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 44–50. 18 พฤศจิกายน 2540. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-04. สืบค้นเมื่อ 2013-02-13.
  18. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนง และตั้งเขตบางนา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 35–39. 18 พฤศจิกายน 2540.
  19. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตตลิ่งชัน และตั้งเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 40–43. 18 พฤศจิกายน 2540.
  20. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตธนบุรี เขตจอมทอง เขตราษฎร์บูรณะ และตั้งเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 51–60. 18 พฤศจิกายน 2540.
  21. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางขุนเทียน และตั้งเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 61–65. 18 พฤศจิกายน 2540.
  22. "หลักการและเหตุผล พื้นที่ฝั่งธนบุรี" (PDF). หอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 8 June 2015.
  23. 23.0 23.1 23.2 สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติจำนวนประชากรและบ้าน ระบบสถิติ การตรวจสอบข้อมูลสถิติทางการทะเบียน [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/INTERNET/#/statpop เก็บถาวร 2020-10-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. สืบค้น 23 มกราคม 2564.

ดูเพิ่ม