ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์
Mga Pilipinong Amerikano
แผนที่แสดงชาวฟิลิปปินส์ในสหรัฐ ตามสำมะโน ค.ศ. 2000
ประชากรทั้งหมด
4.2 ล้านคน (2019)[1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
สหรัฐฝั่งตะวันตก, ฮาวาย โดยเฉพาะในเขตปริมณฑลและที่อื่น ๆ ใน ค.ศ. 2010
รัฐแคลิฟอร์เนีย1,651,933[2]
รัฐฮาวาย367,364[2]
รัฐเท็กซัส194,427[2]
รัฐวอชิงตัน178,300[2]
รัฐเนวาดา169,462[2]
รัฐอิลลินอย159,385[2]
รัฐนิวยอร์ก144,436[2]
รัฐฟลอริดา143,481[2]
รัฐนิวเจอร์ซีย์129,514[2]
รัฐเวอร์จิเนีย108,128[2]
ภาษา
อังกฤษ,[3]
ตากาล็อก (ฟิลิปิโน),[3][4]
อีโลกาโน, ปังกาซีนัน, กาปัมปางัน, บีโคล, กลุ่มภาษาวิซายัน (เซบัวโน, ฮีลีไกโนน, วาไร, ชาบากาโน), และอื่น ๆ, ญี่ปุ่น,[3]
สเปน, จีน (ฮกเกี้ยน, แมนดาริน)[5]
ศาสนา
65% โรมันคาทอลิก
21% โปรเตสแตนต์
8% ไม่มีศาสนา
1% พุทธ[6]
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวฟิลิปปินส์โพ้นทะเล

ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์: Mga Pilipinong Amerikano) เป็นชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายมาจากชาวฟิลิปปินส์ มีจำนวนประมาณ 4.1 ล้านคน หรือ 1.23% ของประชาชนอเมริกัน[7] ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวเอเชียที่มีรายงานว่ามีจำนวนมากที่สุดอันดับที่สองของประเทศ รองจากชาวอเมริกันเชื้อสายจีน จากข้อมูลการสำรวจของสำนักงานสำมะโนประชากรของสหรัฐฯ ในปี ค.ศ. 2018[8]

คำว่า Filipino American บางครั้งย่อเป็น "ฟิลแอมส์" (Fil-Ams)[9] หรือ "พินอย" (Pinoy) ดอว์น มาบาลอน นักประวัติศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ กล่าวว่า คำว่า “พินอย” และ “พิเนย์” (Pinay) ปรากฏครั้งแรกในแถลงการณ์นักศึกษาฟิลิปปินส์ บทความที่มีคำดังกล่าวคือ "Filipino Women in U.S. Excel in Their Courses: Invade Business, Politics."[10] ชาวฟิลิปปินส์บางคนเชื่อว่าคำว่า พินอย ถูกสร้างขึ้นโดยชาวฟิลิปปินส์ที่เดินทางมาสหรัฐอเมริกา เพื่อแยกตัวเองออกจากชาวฟิลิปปินส์ที่อาศัยในประเทศฟิลิปปินส์[11]

ชาวฟิลิปปินส์ในทวีปอเมริกาเหนือมีการบันทึกครั้งแรกในศตวรรษที่ 16[12] โดยมีเริ่มมีชุมชนขนาดเล็กในศตวรรษที่ 18[13] การอพยพครั้งใหญ่เกิดขึ้นในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อประเทศฟิลิปปินส์ถูกสเปนยกให้สหรัฐอเมริกาในสนธิสัญญาปารีส (1898)[14] สหรัฐอเมริกาตระหนักถึงอิสรภาพของฟิลิปปินส์ในวันที่ 4 กรกฎาคม 1946 หลังจากการลงนามสนธิสัญญามะนิลา การอพยพลดน้อยลงอย่างมากระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1930 ยกเว้นชาวฟิลิปปินส์ที่ประจำการที่กองทัพเรือสหรัฐที่เพิ่มขึ้น โดยต่อมาในยุค 1960 มีการอพยพที่เพิ่มขึ้น[15]

ประชากรศาสตร์[แก้]

จากการสำรวจสำมะโนสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2010 นับชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ได้ 3.4 ล้านคน ขณะที่กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาประมาณการใน ค.ศ. 2011 ว่ามีจำนวน 4 ล้านคน ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์เป็นมีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่สองของชาวเอเชียอเมริกัน และมากที่สุดในจำนวนชาวฟิลิปปินส์จากแดนไกล ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์จำนวนมากสามารถพบได้ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ฮาวาย ย่านมหานครนิวยอร์กและนิวเจอร์ซีย์ อิลลินอยส์ และเท็กซัส

อ้างอิง[แก้]

  1. Bureau, US Census. "Asian American and Pacific Islander Heritage Month: May 2021". Census.gov. สืบค้นเมื่อ 2021-11-05.
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 "New Census data: More than 4 million Filipinos in the US". 17 September 2018.
  3. 3.0 3.1 3.2 Melen McBride. "HEALTH AND HEALTH CARE OF FILIPINO AMERICAN ELDERS". Stanford University School of Medicine. Stanford University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 October 2011. สืบค้นเมื่อ 8 June 2011.,
  4. "Statistical Abstract of the United States: page 47: Table 47: Languages Spoken at Home by Language: 2003" (PDF). United States Census Bureau. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-05. สืบค้นเมื่อ 2006-07-11.
  5. Jonathan H. X. Lee; Kathleen M. Nadeau (2011). Encyclopedia of Asian American Folklore and Folklife. ABC-CLIO. pp. 333–334. ISBN 978-0-313-35066-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-25. สืบค้นเมื่อ 2017-04-25.
  6. "Asian Americans: A Mosaic of Faiths, Chapter 1: Religious Affiliation". The Pew Forum on Religion & Public Life. Pew Research Center. 19 July 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2018. สืบค้นเมื่อ 18 August 2014. Religious Affiliations Among U.S. Asian American Groups - Filipino: 89% Christian (21% Protestant (12% Evangelical, 9% Mainline), 65% Catholic, 3% Other Christian), 1% Buddhist, 0% Muslim, 0% Sikh, 0% Jain, 2% Other religion, 8% Unaffiliated[ไม่อยู่ในแหล่งอ้างอิง]
    "Asian Americans: A Mosaic of Faiths". The Pew Forum on Religion & Public Life. Pew Research Center. 19 July 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2014. สืบค้นเมื่อ 15 March 2017. Filipino Americans: 89% All Christian (65% Catholic, 21% Protestant, 3% Other Christian), 8% Unaffiliated, 1% Buddhist
  7. "U.S. Relations With the Philippines". state.gov. January 21, 2020. There more than four million U.S. citizens of Philippine ancestry in the United States
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ usacensus1
  9. "Fil-Am: abbreviation Filipino American.", allwords.com, Date accessed: 29 April 2011
  10. Mabalon, Dawn, Little Manila is in the Heart (Durham and London: Duke University Press, 2013), 20, 37.
  11. Marina Claudio-Perez (October 1998). "Filipino Americans" (PDF). The California State Library. State of California. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-09-30. สืบค้นเมื่อ 30 April 2011. Filipino Americans are often shortened into Pinoy Some Filipinos believe that the term Pinoy was coined by the early Filipinos who came to the United States to distinguish themselves from Filipinos living in the Philippines. Others claim that it implies "Filipino" thoughts, deeds and spirit.
  12. Mercene, Floro L. (2007). Manila Men in the New World: Filipino Migration to Mexico and the Americas from the Sixteenth Century. The University of the Philippines Press. p. 161. ISBN 971-542-529-1. สืบค้นเมื่อ 1 July 2009.<
    Rodel Rodis (25 October 2006). "A century of Filipinos in America". Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-22. สืบค้นเมื่อ 4 May 2011.
  13. Rodel Rodis (25 October 2006). "A century of Filipinos in America". Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-22. สืบค้นเมื่อ 4 May 2011.
  14. "Labor Migration in Hawaii". UH Office of Multicultural Student Services. University of Hawaii. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-03. สืบค้นเมื่อ 11 May 2009.
  15. "Introduction, Filipino Settlements in the United States" (PDF). Filipino American Lives. Temple University Press. March 1995. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-11-28. สืบค้นเมื่อ 19 April 2009.

อ่านเพิ่ม[แก้]

คลังเก็บเอกสาร

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]