ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัณฑะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:


== โครงสร้าง ==
== โครงสร้าง ==
===ลักษณะปรากฏ===
อัณฑะ เป็นอวัยวะที่เคลื่อนไหวได้อยู่ในถุงอัณฑะ มีลักษณะเป็นรูปไข่ขนาดประมาณ 4x2 5x2 เซนติเมตร หนัก 10-15 กรัม ปกติอัณฑะทางด้านซ้ายจะอยู่ต่ำกว่าทางด้านขวาประมาณ 1 เซนติเมตร ในตัวอ่อนอัณฑะจะวางตัวอยู่ในช่องท้องใกล้กับไต เมื่อตัวอ่อนอายุได้ 7 เดือนอัณฑะจะเคลื่อนผ่านช่องขาหนีบ ซึ่งเป็นช่องทางเชื่อมระหว่างถุงอัณฑะกับช่องท้อง แล้วเข้าไปอยู่ในถุงอัณฑะพร้อมทั้งนำเอาหลอดเลือด เส้นประสาทและท่อนำอสุจิ ที่ออกจากอัณฑะตามลงไปด้วยกลายเป็นสายโยงลูกอัณฑะ การออกแรงยกของหนักหรือมีความดันในช่องท้องสูงอาจทำให้ท่อขาหนีบขยายเปิดกว้างออก อวัยวะต่างๆ ที่อยู่ในช่องท้องสามารถเคลื่อนผ่านรูนี้ออกมาดันอยู่ในถุงอัณฑะ เรียกว่า ไส้เลื่อน (inguinal hernia) และถ้าหากอัณฑะยังไม่สามารถเคลื่อนลงมาอยู่ในถุงอัณฑะ เรียกสภาพนี้ว่า ทองแดง ซึ่งจะมีผลทำให้ไม่สามารถสร้างอสุจิได้
[[ไฟล์:Male and female gonads.svg|thumb|ต่อมบ่งเพศของเพศชาย (อัณฑะข้างซ้าย) และต่อมบ่งเพศของเพศหญิง ([[รังไข่]]ข้างขวา)]]


เพศชายมีอัณฑะสองข้างขนาดใกล้เคียงกันอยู่ภายใน[[ถุงอัณฑะ]] ซึ่งเป็นส่วนที่ขยายต่อเนื่องมาจากผนังช่องท้อง<ref name="Steger">{{Cite book|last1=Steger|first1=Klaus|last2=Weidner|first2=Wolfgang|title=Practical Urology: Essential Principles and Practice|chapter=Anatomy of the Male Reproductive System|chapter-url =https://books.google.com/books?id=A9m8TkdCUqEC&pg=PA57|date=2011|publisher=Springer Science & Business Media|isbn=978-1-84-882034-0|page=57}}</ref> ความไม่สมดุลของถุงอัณฑะหรือการที่อัณฑะข้างหนึ่งยื่นลงไปในถุงอัณฑะมากกว่าอีกข้างหนึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เนื่องมาจากความแตกต่างในด้านกายวิภาคของระบบหลอดเลือด<ref name="Steger"/> ซึ่งผู้ชายร้อยละ 85 จะมีอัณฑะข้างขวาห้อยต่ำกว่าข้างซ้าย<ref name="Steger"/>
อัณฑะ ถูกหุ้มด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแน่นทึบที่เรียกว่า tunica albuginea ซึ่งจะให้ผนังแทรกเข้าไปภายในแบ่งอัณฑะออกเป็น ท่อเล็ก ๆ ประมาณ 200-300 ท่อภายในแต่ละท่อประกอบด้วยเซลล์เลย์ดิก และ ท่อเซมินิเฟอรัส ซึ่งจะขดไปรวมความยาวทั้งหมดของท่อเซมินิเฟอรัสแล้วประมาณ 225 เมตร ท่อเซมินิเฟอรัส แต่ละหลอดมาบรรจบกันเป็นท่อตรงแล้วประสานกันเป็นตาข่ายเรียกว่า rete testis ต่อจากนั้น rete testis ก็จะรวมกันกลายเป็น ductuli efferents ทะลุ tunica albuginea เชื่อมต่อกับส่วนต้นของหลอดเก็บอสุจิ

===การวัดและปริมาตร===
ปริมาตรของอัณฑะสามารถประมาณได้โดยการคลำตรวจและการเทียบกับ[[ทรงรี]]ที่ทราบขนาด อีกวิธีหนึ่งคือการใช้เครื่องมือวัดขนาด ([[ออร์คิโดมิเตอร์]]) หรือไม้บรรทัดวัดบนตัวบุคคลหรือบนภาพ[[การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง|อัลตราซาวด์]]ซึ่งวัดได้ทั้งสามแกน (ความยาว ความลึก และ ความกว้าง) โดยการวัดเหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการคำนวณปริมาตรได้ผ่านสูตรปริมาตรทรงรี:
:<math>Volume = \frac{4}{3} \cdot \pi \cdot \frac{length}{2} \cdot \frac{width}{2} \cdot \frac{depth}{2}</math>
:<math>\approx length \cdot width \cdot depth \cdot 0.52</math>

อย่างไรก็ตาม การคำนวณปริมาตรจริงของอัณฑะที่แม่นยำสามารถหาได้จากสูตร:<ref>[https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17270639/, 2007 Jan;69(1):152-7. doi: 10.1016/j.urology.2006.09.012. Testicular volume measurement: comparison of ultrasonography, orchidometry, and water displacement]</ref><ref>[https://afju.springeropen.com/articles/10.1186/s12301-020-0016-z, Testicular volume: correlation of ultrasonography, orchidometer and caliper measurements in children]</ref>

:<math>\approx length \cdot width \cdot depth \cdot 0.71</math>

ขนาดอัณฑะผู้ใหญ่เฉลี่ยสามารถวัดได้ถึง {{convert|5|×|2|×|3|cm|in|frac=4|abbr=on}} โดย[[มาตราแทนเนอร์#อวัยวะสืบพันธุ์ (เพศชาย)|มาตราแทนเนอร์สำหรับช่วงการเจริญเต็มที่ของอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย]]กำหนดระยะการเจริญเต็มที่ตามปริมาตรที่คำนวณได้ ตั้งแต่ช่วงระยะที่ 1 ปริมาตรน้อยกว่า 1.5&nbsp;cm<sup>3</sup> ไปจนถึงช่วงระยะที่ 5 ปริมาตรมากกว่า 20&nbsp;cm<sup>3</sup> ปริมาตรปกติจะอยู่ที่ 15 ถึง 25&nbsp;cm<sup>3</sup> และมีค่าเฉลี่ยที่ 18&nbsp;cm<sup>3</sup> ต่ออัณฑะ (ช่วง 12–30&nbsp;cm<sup>3</sup>)<ref name="Steger"/>

จำนวนตัวอสุจิที่มนุษย์สร้างขึ้นในวัยผู้ใหญ่นั้นจะแปรผันตรงกับปริมาตรของอัณฑะ เนื่องจากอัณฑะที่ใหญ่ขึ้นจะมีหลอดสร้างอสุจิและ[[เซลล์เซอร์โตลี]]ที่มากกว่า<ref>Cooper TG. Semen analysis. In: Nieschlag E, Behre HM, Nieschlag S, editors. Andrology: Male Reproductive Health and Dysfunction, 3rd ed. Heidelberg: Springer; 2010. p125–54.</ref> ด้วยเหตุนี้ ผู้ชายที่มีอัณฑะขนาดใหญ่จะผลิตเซลล์อสุจิเฉลี่ยมากกว่าในแต่ละ[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] เนื่องจากปริมาตรของอัณฑะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโครงร่างของน้ำอสุจิ<ref>{{cite journal | doi=10.1155/2013/145792 | doi-access=free | title=Relationship between Testicular Volume and Conventional or Nonconventional Sperm Parameters | year=2013 | last1=Condorelli | first1=Rosita | last2=Calogero | first2=Aldo E. | last3=La Vignera | first3=Sandro | journal=International Journal of Endocrinology | volume=2013 | pages=1–6 | pmid=24089610 }}</ref>

===โครงสร้างภายใน===
[[Image:transversetestis.png|thumb|ภาพตัดขวางอัณฑะและถุงอัณฑะข้างซ้าย]]

====ระบบท่อ====
อัณฑะถูกห่อหุ้มด้วยเปลือกเส้นใยที่เหนียว เรียกว่า [[ทูนิกา อัลบูจิเนียของอัณฑะ|ทูนิกา อัลบูจิเนีย]]<ref name="Cho">{{Cite book|last1=Cho|first1=S|last2=Bae|first2=J.H.|title=Clinical Regenerative Medicine in Urology|chapter=Penis and Testis|chapter-url =https://books.google.com/books?id=J9s1DwAAQBAJ&pg=PA281|date=2017|publisher=Springer|isbn=978-9-81-102723-9|page=281}}</ref> ใต้ทูนิกา อัลบูจิเนียจะมีหลอดขดที่ละเอียดเป็นจำนวนมาก เรียกว่า [[หลอดสร้างอสุจิ]]<ref name="Cho"/> หลอดเหล่านี้บุด้วยชั้นของเซลล์ ([[เซลล์สืบพันธุ์]]) ที่พัฒนาไปเป็น[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]][[ตัวอสุจิ|อสุจิ]] (หรือเรียกอีกอย่างว่า [[สเปอร์มาโทซูน]] หรือ [[เซลล์สืบพันธุ์]]เพศชาย) ตั้งแต่จาก[[วัยเริ่มเจริญพันธุ์]]ไปจนถึงวัยชรา<ref name="Cho"/> ตัวอสุจิที่กำลังพัฒนาจะเคลื่อนไปตามหลอดสร้างอสุจิไปยัง[[รีตี เทสทิส]] ซึ่งตั้งอยู่ใน[[ผนังกลางอัณฑะ]] จากนั้นไปยัง[[ท่อนำออก]] และไปยัง[[เอพิดิไดมิส]]ที่ซึ่งเซลล์อสุจิที่เกิดขึ้นใหม่จะเจริญเติมที่ ([[การสร้างสเปิร์ม]])<ref name="Pocock">{{Cite book|last1=Pocock|first1=Gillian|last2=Richards|first2=Christopher D.|last3=Richards|first3=David A.|title=Human Physiology|date=2018|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-873722-3|page=766|url=https://books.google.com/books?id=NcQ9DwAAQBAJ&pg=PA766}}</ref> ตัวอสุจิจะเคลื่อนเข้าสู่[[หลอดนำอสุจิ]] และในที่สุดก็จะถูกขับออกทาง[[ท่อปัสสาวะ]] และออกทาง[[รูปัสสาวะ]]ผ่านการหดตัวของกล้ามเนื้อ<ref name="Pocock"/>

====ประเภทเซลล์ปฐมภูมิ====
ภายในหลอดสร้างอสุจิ เซลล์สืบพันธุ์จะพัฒนาขึ้นเป็น[[เซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิ]] [[สเปอร์มาโทไซต์]] [[สเปอร์มาทิด]] และ [[สเปอร์มาโทซูน]] ผ่านกระบวนการการสร้างอสุจิ ซึ่งเซลล์สืบพันธุ์จะมีดีเอ็นเอสำหรับการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่<ref>[https://books.google.com/books?id=FoSiGTXn6BUC&printsec=frontcover#v=onepage&q=testes%20OR%20testis%20OR%20testicle%20OR%20testicles Histology, A Text and Atlas] by Michael H. Ross and Wojciech Pawlina, Lippincott Williams & Wilkins, 5th ed, 2006{{page needed|date=April 2022}}</ref> [[เซลล์เซอร์โตลี]]เป็นเยื่อบุที่แท้จริงของเยื่อบุหลอดสร้างอสุจิ ซึ่งมีความสำคัญต่อการสนับสนุนการพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นสเปอร์มาโทซูน โดยเซลล์เซอร์โตลีจะหลั่ง[[อินฮิบิน]]ออกมา<ref name="Huhtaniemi">{{Cite book|last=Huhtaniemi|first=Ilpo|title=Encyclopedia of Endocrine Diseases|date=2018|publisher=Academic Press|isbn=978-0-12-812200-6|page=667|url=https://books.google.com/books?id=nVh7DwAAQBAJ&pg=RA1-PA667}}</ref> [[Peritubular myoid cells]] surround the seminiferous tubules.<ref name="Schlegel">{{Cite book|last1=Schlegel|first1=P.N.|last2=Katzovitz|first2=M.A.|title=Urologic Principles and Practice|chapter=Male Reproductive Physiology|chapter-url=https://books.google.com/books?id=bNHHDwAAQBAJ&pg=PA50|date=2020|publisher=Springer Nature|isbn=978-3-03-028599-9|page=50}}</ref>

ระหว่างหลอด (เซลล์แทรก) จะมี[[เซลล์ไลดิช]]ปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นเซลล์เฉพาะที่ที่อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจืที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน[[เทสโทสเตอโรน]]และ[[ฮอร์โมนเพศชาย]]อื่น ๆ ที่สำคัญสำหรับ[[วัยเริ่มเจริญพันธุ์]] (รวมถึง[[ลักษณะทางเพศทุติยภูมิ]] เช่น หนวดเครา) [[กิจกรรมทางเพศของมนุษย์|พฤติกรรมทางเพศ]] และ [[ความใคร่]] นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนการสร้างอสุจิและ[[การแข็งตัวขององคชาต]]ด้วย โดยฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเป็นตัวควบคุมปริมาตรของอัณฑะ

นอกจากนี้ก็ยังมีเซลล์ไลดิชที่ยังไม่เจริญเต็มที่ [[แมคโครฟาจ]]แทรก และ [[เนื้อเยื่อบุผิว|เซลล์เนื้อเยื่อบุผิว]] ปรากฏอยู่เช่นกัน

====การเลี้ยงของเลือดและการระบายน้ำเหลือง====
การเลี้ยงของเลือดและ[[การระบายน้่ำเหลือง]]ของอัณฑะและถุงอัณฑะนั้นมีความแตกต่างกัน ดังนี้
* คู่ของ[[หลอดเลือดแดงอัณฑะ]]แยกออกมาโดยตรงจาก[[เอออร์ตาส่วนท้อง]]และทอดตัวลงผ่าน[[คลองขาหนีบ]] ขณะที่ถุงอัณฑะและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกอื่นนั้นแยกออกมาจาก[[หลอดเลือดแดงหว่างขาใน]] (ซึ่งแขนงหนึ่งของ[[หลอดเลือดแดงกระดูกปีกสะโพกใน]])
* อัณฑะมีเลือดไปเลี้ยงจาก 1. [[หลอดเลือดแดงครีมาสเตอร์]] (แขนงของ[[หลอดเลือดแดงยอดอกนอก]]) และ 2. [[หลอดเลือดแดงเลี้ยงหลอดอสุจิ]] (แขนงของ[[หลอดเลือดแดงกระเพาะปัสสาวะใน]]) ดังนั้น ถ้าหลอดเลือดแดงอัณฑะถูกมัด เช่น ระหว่างการทำ[[ศัลยกรรมตรึงอัณฑะ]]แบบฟาวเลอร์-สตีเวนส์ในอัณฑะที่ไม่เคลื่อนลงที่อยู่สูง อัณฑะจะได้รับเลือดจากแหล่งอื่นมาเลี้ยงแทน
* การระบายน้ำเหลืองของอัณฑะจะระบายไปตามหลอดเลือดแดงอัณฑะไปยัง[[ต่อมน้ำเหลืองพาราเอออร์ตา]] ขณะที่น้ำเหลืองจากถุงอัณฑะจะระบายเข้าสู่[[ต่อมน้ำเหลืองขาหนีบ]]

====ชั้น====
[[File:Layers of the Scrotum.ogg|thumb|แบบจำลองสามมิติของชั้นที่ห่อหุ้มอัณฑะ]]

ลักษณะทางกายวิภาคหลายประการของอัณฑะในผู้ใหญ่นั้นสะท้อนถึงต้นกำเนิดใน[[ช่องท้อง]] โดยชั้นของเนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มอัณฑะนั้นมาจากชั้นต่าง ๆ ของ[[ผนังหน้าท้อง]]ส่วนหน้า<ref name="Steger"/> [[กล้ามเนื้อครีมาสเตอร์]]เจริญขึ้นมาจาก[[กล้ามเนื้อเฉียงในช่องท้อง|กล้ามเนื้ออินเทอร์นัลออบลีค]]<ref name="Steger"/><ref name="Tubbs">{{Cite book|last1=Tubbs|first1=R. Shane|last2=Shoja|first2=Mohammadali M.|last3=Loukas|first3=Marios|title=Bergman's Comprehensive Encyclopedia of Human Anatomic Variation|date=2016|publisher=John Wiley & Sons|isbn=978-1-11-843068-2|page=1393|url=https://books.google.com/books?id=U_0dDAAAQBAJ&pg=PT1393}}</ref>

====ตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ====
{{main|ตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ}}
โมเลกุลขนาดใหญ่จะไม่สามารถผ่านจากเลือดไปยังช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจิได้ เนื่องจากมี[[ไทต์จังก์ชัน]]อยู่ระหว่างเซลล์เซอร์โตลีที่ติดกัน<ref name="Steger 2">{{Cite book|last1=Steger|first1=Klaus|last2=Weidner|first2=Wolfgang|title=Practical Urology: Essential Principles and Practice|chapter=Anatomy of the Male Reproductive System|chapter-url =https://books.google.com/books?id=A9m8TkdCUqEC&pg=PA63|date=2011|publisher=Springer Science & Business Media|isbn=978-1-84-882034-0|page=63}}</ref> เซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิจะอยู่บริเวณส่วนฐาน (ลึกลงไปในระดับของไทต์จังก์ชัน) และรูปแบบที่เจริญเติบโตมากขึ้น เช่น สเปอร์มาโทไซต์ปฐมภูมิและทุติยภูมิ และ สเปอร์มาทิด จะอยู่บริเวณส่วนช่องภายในหลอด<ref name="Steger 2"/>

หน้าที่ของตัวกั้นอาจมีขึ้นเพื่อป้องกันปฏิกิริยา[[ภาวะภูมิต้านตนเอง|ภูมิต้านตนเอง]]<ref name="Steger 2"/> ซึ่งตัวอสุจิที่เจริญเต็มที่ (และ[[แอนติเจน]]ของมัน) จะปรากฏออกมาอย่างมีนัยสำคัญหลังจากการทนภูมิต้านทาน (immune tolerance) เกิดขึ้นในวัยทารก<ref name="Steger 2"/> เนื่องจากตัวอสุจินั้นมีความแตกต่างทางแอนติเจนจากเนื้อเยื่อของร่างกาย ดังนั้น สัตว์เพศผู้และมนุษย์เพศชายจะสามารถเกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อตัวอสุจิของตัวเองได้ และยังสามารถสร้างสารภูมิต้านทานขึ้นมาต่อต้านตัวอสุจิได้เช่นกัน<ref name="Steger 2"/>

การฉีดแอนติเจนของตัวอสุจิจะทำให้เกิดการอักเสบของอัณฑะ (อัณฑะอักเสบเหตุภูมิต้านตนเอง) และทำให้ภาวะเจริญพันธุ์ลดลง<ref name="Steger 2"/> โดยตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะอาจลดโอกาสที่โปรตีนของตัวอสุจิจะไปกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ลดภาวะเจริญพันธุ์ และ ทำให้มีทายาทได้


== พัฒนาการ ==
== พัฒนาการ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:03, 12 มิถุนายน 2565

อัณฑะ
ภาพโครงสร้างภายในของอัณฑะ
แผนภาพแสดงลักษณะภายนอกและโครงสร้างโดยรอบของอัณฑะในผู้ชายวัยผู้ใหญ่
รายละเอียด
หลอดเลือดแดงหลอดเลือดแดงอัณฑะ
หลอดเลือดดำหลอดเลือดดำอัณฑะ, ข่ายหลอดเลือดดำแพมพินีฟอร์ม
ประสาทข่ายประสาทอัณฑะ
น้ำเหลืองต่อมน้ำเหลืองเอว
ตัวระบุ
ภาษาละตินtestis
MeSHD013737
TA98A09.3.01.001
TA23576
FMA7210
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

อัณฑะ (มาจากรากศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต หมายถึง ไข่; อังกฤษ: เอกพจน์ testicle, พหูพจน์ testis) เป็นต่อมระบบสืบพันธุ์หรือต่อมบ่งเพศของเพศชายในสัตว์ทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ เป็นอวัยวะกำเนิดเดียวกันกับรังไข่ในเพศหญิง อัณฑะมีหน้าที่สร้างทั้งตัวอสุจิและฮอร์โมนเพศชาย โดยมีฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเป็นหลัก ซึ่งการปล่อยนั้นจะถูกควบคุมโดยลูติไนซิงฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ในขณะที่การสร้างอสุจินั้นถูกควบคุมโดยทั้งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้อยของต่อมใต้สมองส่วนหน้าและฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของต่อมบ่งเพศ

โครงสร้าง

ลักษณะปรากฏ

ไฟล์:Male and female gonads.svg
ต่อมบ่งเพศของเพศชาย (อัณฑะข้างซ้าย) และต่อมบ่งเพศของเพศหญิง (รังไข่ข้างขวา)

เพศชายมีอัณฑะสองข้างขนาดใกล้เคียงกันอยู่ภายในถุงอัณฑะ ซึ่งเป็นส่วนที่ขยายต่อเนื่องมาจากผนังช่องท้อง[1] ความไม่สมดุลของถุงอัณฑะหรือการที่อัณฑะข้างหนึ่งยื่นลงไปในถุงอัณฑะมากกว่าอีกข้างหนึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เนื่องมาจากความแตกต่างในด้านกายวิภาคของระบบหลอดเลือด[1] ซึ่งผู้ชายร้อยละ 85 จะมีอัณฑะข้างขวาห้อยต่ำกว่าข้างซ้าย[1]

การวัดและปริมาตร

ปริมาตรของอัณฑะสามารถประมาณได้โดยการคลำตรวจและการเทียบกับทรงรีที่ทราบขนาด อีกวิธีหนึ่งคือการใช้เครื่องมือวัดขนาด (ออร์คิโดมิเตอร์) หรือไม้บรรทัดวัดบนตัวบุคคลหรือบนภาพอัลตราซาวด์ซึ่งวัดได้ทั้งสามแกน (ความยาว ความลึก และ ความกว้าง) โดยการวัดเหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการคำนวณปริมาตรได้ผ่านสูตรปริมาตรทรงรี:

อย่างไรก็ตาม การคำนวณปริมาตรจริงของอัณฑะที่แม่นยำสามารถหาได้จากสูตร:[2][3]

ขนาดอัณฑะผู้ใหญ่เฉลี่ยสามารถวัดได้ถึง 5 × 2 × 3 ซm (2 × 34 × 1 14 in) โดยมาตราแทนเนอร์สำหรับช่วงการเจริญเต็มที่ของอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายกำหนดระยะการเจริญเต็มที่ตามปริมาตรที่คำนวณได้ ตั้งแต่ช่วงระยะที่ 1 ปริมาตรน้อยกว่า 1.5 cm3 ไปจนถึงช่วงระยะที่ 5 ปริมาตรมากกว่า 20 cm3 ปริมาตรปกติจะอยู่ที่ 15 ถึง 25 cm3 และมีค่าเฉลี่ยที่ 18 cm3 ต่ออัณฑะ (ช่วง 12–30 cm3)[1]

จำนวนตัวอสุจิที่มนุษย์สร้างขึ้นในวัยผู้ใหญ่นั้นจะแปรผันตรงกับปริมาตรของอัณฑะ เนื่องจากอัณฑะที่ใหญ่ขึ้นจะมีหลอดสร้างอสุจิและเซลล์เซอร์โตลีที่มากกว่า[4] ด้วยเหตุนี้ ผู้ชายที่มีอัณฑะขนาดใหญ่จะผลิตเซลล์อสุจิเฉลี่ยมากกว่าในแต่ละการหลั่งน้ำอสุจิ เนื่องจากปริมาตรของอัณฑะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโครงร่างของน้ำอสุจิ[5]

โครงสร้างภายใน

ภาพตัดขวางอัณฑะและถุงอัณฑะข้างซ้าย

ระบบท่อ

อัณฑะถูกห่อหุ้มด้วยเปลือกเส้นใยที่เหนียว เรียกว่า ทูนิกา อัลบูจิเนีย[6] ใต้ทูนิกา อัลบูจิเนียจะมีหลอดขดที่ละเอียดเป็นจำนวนมาก เรียกว่า หลอดสร้างอสุจิ[6] หลอดเหล่านี้บุด้วยชั้นของเซลล์ (เซลล์สืบพันธุ์) ที่พัฒนาไปเป็นเซลล์อสุจิ (หรือเรียกอีกอย่างว่า สเปอร์มาโทซูน หรือ เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย) ตั้งแต่จากวัยเริ่มเจริญพันธุ์ไปจนถึงวัยชรา[6] ตัวอสุจิที่กำลังพัฒนาจะเคลื่อนไปตามหลอดสร้างอสุจิไปยังรีตี เทสทิส ซึ่งตั้งอยู่ในผนังกลางอัณฑะ จากนั้นไปยังท่อนำออก และไปยังเอพิดิไดมิสที่ซึ่งเซลล์อสุจิที่เกิดขึ้นใหม่จะเจริญเติมที่ (การสร้างสเปิร์ม)[7] ตัวอสุจิจะเคลื่อนเข้าสู่หลอดนำอสุจิ และในที่สุดก็จะถูกขับออกทางท่อปัสสาวะ และออกทางรูปัสสาวะผ่านการหดตัวของกล้ามเนื้อ[7]

ประเภทเซลล์ปฐมภูมิ

ภายในหลอดสร้างอสุจิ เซลล์สืบพันธุ์จะพัฒนาขึ้นเป็นเซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิ สเปอร์มาโทไซต์ สเปอร์มาทิด และ สเปอร์มาโทซูน ผ่านกระบวนการการสร้างอสุจิ ซึ่งเซลล์สืบพันธุ์จะมีดีเอ็นเอสำหรับการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่[8] เซลล์เซอร์โตลีเป็นเยื่อบุที่แท้จริงของเยื่อบุหลอดสร้างอสุจิ ซึ่งมีความสำคัญต่อการสนับสนุนการพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นสเปอร์มาโทซูน โดยเซลล์เซอร์โตลีจะหลั่งอินฮิบินออกมา[9] Peritubular myoid cells surround the seminiferous tubules.[10]

ระหว่างหลอด (เซลล์แทรก) จะมีเซลล์ไลดิชปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นเซลล์เฉพาะที่ที่อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจืที่สร้างและหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนและฮอร์โมนเพศชายอื่น ๆ ที่สำคัญสำหรับวัยเริ่มเจริญพันธุ์ (รวมถึงลักษณะทางเพศทุติยภูมิ เช่น หนวดเครา) พฤติกรรมทางเพศ และ ความใคร่ นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนการสร้างอสุจิและการแข็งตัวขององคชาตด้วย โดยฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเป็นตัวควบคุมปริมาตรของอัณฑะ

นอกจากนี้ก็ยังมีเซลล์ไลดิชที่ยังไม่เจริญเต็มที่ แมคโครฟาจแทรก และ เซลล์เนื้อเยื่อบุผิว ปรากฏอยู่เช่นกัน

การเลี้ยงของเลือดและการระบายน้ำเหลือง

การเลี้ยงของเลือดและการระบายน้่ำเหลืองของอัณฑะและถุงอัณฑะนั้นมีความแตกต่างกัน ดังนี้

ชั้น

แบบจำลองสามมิติของชั้นที่ห่อหุ้มอัณฑะ

ลักษณะทางกายวิภาคหลายประการของอัณฑะในผู้ใหญ่นั้นสะท้อนถึงต้นกำเนิดในช่องท้อง โดยชั้นของเนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มอัณฑะนั้นมาจากชั้นต่าง ๆ ของผนังหน้าท้องส่วนหน้า[1] กล้ามเนื้อครีมาสเตอร์เจริญขึ้นมาจากกล้ามเนื้ออินเทอร์นัลออบลีค[1][11]

ตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ

โมเลกุลขนาดใหญ่จะไม่สามารถผ่านจากเลือดไปยังช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจิได้ เนื่องจากมีไทต์จังก์ชันอยู่ระหว่างเซลล์เซอร์โตลีที่ติดกัน[12] เซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิจะอยู่บริเวณส่วนฐาน (ลึกลงไปในระดับของไทต์จังก์ชัน) และรูปแบบที่เจริญเติบโตมากขึ้น เช่น สเปอร์มาโทไซต์ปฐมภูมิและทุติยภูมิ และ สเปอร์มาทิด จะอยู่บริเวณส่วนช่องภายในหลอด[12]

หน้าที่ของตัวกั้นอาจมีขึ้นเพื่อป้องกันปฏิกิริยาภูมิต้านตนเอง[12] ซึ่งตัวอสุจิที่เจริญเต็มที่ (และแอนติเจนของมัน) จะปรากฏออกมาอย่างมีนัยสำคัญหลังจากการทนภูมิต้านทาน (immune tolerance) เกิดขึ้นในวัยทารก[12] เนื่องจากตัวอสุจินั้นมีความแตกต่างทางแอนติเจนจากเนื้อเยื่อของร่างกาย ดังนั้น สัตว์เพศผู้และมนุษย์เพศชายจะสามารถเกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อตัวอสุจิของตัวเองได้ และยังสามารถสร้างสารภูมิต้านทานขึ้นมาต่อต้านตัวอสุจิได้เช่นกัน[12]

การฉีดแอนติเจนของตัวอสุจิจะทำให้เกิดการอักเสบของอัณฑะ (อัณฑะอักเสบเหตุภูมิต้านตนเอง) และทำให้ภาวะเจริญพันธุ์ลดลง[12] โดยตัวกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะอาจลดโอกาสที่โปรตีนของตัวอสุจิจะไปกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ลดภาวะเจริญพันธุ์ และ ทำให้มีทายาทได้

พัฒนาการ

เมื่อเพศชายเข้าสู่วัยรุ่น หรืออายุประมาณ 12-13 ปี จะมีพัฒนาการของลูกอัณฑะเพื่อเตรียมพร้อมที่จะสร้างอสุจิ ส่งผลให้ลูกอัณฑะและถุงอัณฑะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนกระทั่งสามารถสร้างอสุจิได้อย่างสมบูรณ์เมื่ออายุประมาณ 14-15ปี

ภาพอื่นๆ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Steger, Klaus; Weidner, Wolfgang (2011). "Anatomy of the Male Reproductive System". Practical Urology: Essential Principles and Practice. Springer Science & Business Media. p. 57. ISBN 978-1-84-882034-0.
  2. 2007 Jan;69(1):152-7. doi: 10.1016/j.urology.2006.09.012. Testicular volume measurement: comparison of ultrasonography, orchidometry, and water displacement
  3. Testicular volume: correlation of ultrasonography, orchidometer and caliper measurements in children
  4. Cooper TG. Semen analysis. In: Nieschlag E, Behre HM, Nieschlag S, editors. Andrology: Male Reproductive Health and Dysfunction, 3rd ed. Heidelberg: Springer; 2010. p125–54.
  5. Condorelli, Rosita; Calogero, Aldo E.; La Vignera, Sandro (2013). "Relationship between Testicular Volume and Conventional or Nonconventional Sperm Parameters". International Journal of Endocrinology. 2013: 1–6. doi:10.1155/2013/145792. PMID 24089610.
  6. 6.0 6.1 6.2 Cho, S; Bae, J.H. (2017). "Penis and Testis". Clinical Regenerative Medicine in Urology. Springer. p. 281. ISBN 978-9-81-102723-9.
  7. 7.0 7.1 Pocock, Gillian; Richards, Christopher D.; Richards, David A. (2018). Human Physiology. Oxford University Press. p. 766. ISBN 978-0-19-873722-3.
  8. Histology, A Text and Atlas by Michael H. Ross and Wojciech Pawlina, Lippincott Williams & Wilkins, 5th ed, 2006[ต้องการเลขหน้า]
  9. Huhtaniemi, Ilpo (2018). Encyclopedia of Endocrine Diseases. Academic Press. p. 667. ISBN 978-0-12-812200-6.
  10. Schlegel, P.N.; Katzovitz, M.A. (2020). "Male Reproductive Physiology". Urologic Principles and Practice. Springer Nature. p. 50. ISBN 978-3-03-028599-9.
  11. Tubbs, R. Shane; Shoja, Mohammadali M.; Loukas, Marios (2016). Bergman's Comprehensive Encyclopedia of Human Anatomic Variation. John Wiley & Sons. p. 1393. ISBN 978-1-11-843068-2.
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 Steger, Klaus; Weidner, Wolfgang (2011). "Anatomy of the Male Reproductive System". Practical Urology: Essential Principles and Practice. Springer Science & Business Media. p. 63. ISBN 978-1-84-882034-0.