ไผ่เลี้ยง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไผ่เลี้ยง
at Kerala Forest Research Institute
Veluppadam, Kerala, India
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: พืช
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
เคลด: พืชดอก
เคลด: พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
เคลด: Commelinids
อันดับ: หญ้า
วงศ์: หญ้า
สกุล: Bambusa
(Lour.) Raeusch. ex Schult.f.
สปีชีส์: Bambusa multiplex
ชื่อทวินาม
Bambusa multiplex
(Lour.) Raeusch. ex Schult.f.

ไผ่เลี้ยง (Bambusa multiplex) เป็นสายพันธุ์ของไผ่ มีถิ่นกำเนิดในจีน (จังหวัด Guangdong, Guangxi, Hainan, Hunan, Jiangxi, Sichuan, Yunnan) เนปาล, ภูฏาน, รัฐอัสสัม, ศรีลังกา, ไต้หวัน, และส่วนเหนือของอินโดจีน นอกจากนี้ยังพบได้ในอิรัก, มาดากัสการ์, มอริเชียส, เซเชลส์, อนุทวีปอินเดีย, บางส่วนของอเมริกาใต้, เวสต์อินดีส, และทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา (ฟลอริดา, จอร์เจีย, แอละแบมา)[1][2]

ชื่อพ้อง[แก้]

  • Arundo multiplex Lour.
  • Arundarbor multiplex (Lour.) Kuntze
  • Bambusa multiplex var. normalis Sasaki
  • Leleba multiplex (Lour.) Nakai
  • Ludolfia glaucescens Willd.
  • Arundinaria glaucescens (Willd.) P.Beauv.
  • Bambusa nana Roxb.
  • Bambusa sterilis Kurz ex Miq.
  • Bambusa caesia Siebold & Zucc. ex Munro
  • Arundarbor aurea Kuntze
  • Arundarbor nana (Roxb.) Kuntze
  • Triglossum arundinaceum Gamble
  • Bambusa alphonse-karrii Mitford ex Satow
  • Bambusa glaucescens (Willd.) Merr.
  • Bambusa argentea Nehrl.
  • Bambusa dolichomerithalla Hayata
  • Bambusa liukiuensis Hayata
  • Bambusa shimadae Hayata
  • Leleba dolichomerithalla (Hayata) Nakai
  • Leleba floribunda (Buse) Nakai
  • Leleba liukiuensis (Hayata) Nakai
  • Leleba shimadae (Hayata) Nakai
  • Leleba amakusensis Nakai
  • Leleba elegans Koidz.
  • Bambusa strigosa T.H.Wen
  • Bambusa albifolia T.H.Wen & J.J.Hua
  • Bambusa pubivaginata W.T.Lin & Z.M.Wu

ลักษณะทั่วไป[แก้]

มีความสูง 2-3 เมตร มีลำต้นสูง เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-6 เซนติเมตร พุ่มกว้าง 4-6 เมตร ลำกลมและเกลี้ยง สีเขียวเป็นมันและมีขนสีขาวนวลอยู่ตามข้อ และใบเป็นลักษณะแคบเล็ก ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบแตกออกบริเวณกลางลำ ทำให้ดูเป็นพุ่มอยู่ส่วนยอดของต้น มีใบดกมาก

การขยายพันธุ์[แก้]

สามารถขยายพันธุ์ด้วยการแยกกอ

อ้างอิง[แก้]