ไดเมทิลเมอร์คิวรี
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Dimethylmercury[1]
| |
ชื่ออื่น
Mercury dimethanide
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
3600205 | |
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.008.916 |
EC Number |
|
25889 | |
MeSH | dimethyl+mercury |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
UN number | 2929 |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C 2H 6Hg (CH 3) 2Hg | |
มวลโมเลกุล | 230.66 g mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี |
กลิ่น | หวาน |
ความหนาแน่น | 2.961 g mL−1 |
จุดหลอมเหลว | −43 องศาเซลเซียส (−45 องศาฟาเรนไฮต์; 230 เคลวิน) |
จุดเดือด | 93 ถึง 94 องศาเซลเซียส (199 ถึง 201 องศาฟาเรนไฮต์; 366 ถึง 367 เคลวิน) |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.543 |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
57.9–65.7 kJ mol−1 |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
ไวไฟสูงมาก เป็นพิษสูงมาก และก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมถาวร |
GHS labelling: | |
อันตราย | |
H224, H300+H310+H330, H372, H410 | |
P260, P264, P273, P280, P284, P301+P310 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | 5 องศาเซลเซียส (41 องศาฟาเรนไฮต์; 278 เคลวิน) |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
|
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไดเมทิลเมอร์คิวรี (อังกฤษ: Dimethylmercury) เป็นสารประกอบปรอทอินทรีย์ มีลักษณะเป็นของเหลวไม่มีสี เป็นหนึ่งในสารพิษต่อระบบประสาทที่มีฤทธิ์ร้ายแรงที่สุด มีกลิ่นหวานเล็กน้อย แต่การสูดดมไอระเหยของสารนี้เพื่อให้ได้กลิ่นเป็นอันตราย
การสังเคราะห์ โครงสร้าง ปฏิกิริยา
[แก้]ไดเมทิลเมอร์คิวรีเป็นหนึ่งในสารโลหอินทรีย์ชนิดแรก ๆ ที่มีการรายงาน สะท้อนให้เห็นถึงความเสถียรภาพ ไดเมทิลเมอร์คิวรีเกิดจากการผสมกันระหว่างโซเดียมอะมอลกัมกับเมทิลเฮไลด์:
นอกจากนี้ยังได้จากปฏิกิริยาแอลคิเลชันของเมอร์คิวริกคลอไรด์ด้วยเมทิลลิเทียม:
- HgCl2 + 2 LiCH3 → Hg(CH3)2 + 2 LiCl
การเกิดปฏิกิริยา
[แก้]ไดเมทิลเมอร์คิวรีมีคุณสมบัติโดดเด่นคือไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ในขณะที่เมื่อทำปฏิกิริยากับสารประกอบแคดเมียมอินทรีย์และสารประกอบสังกะสีอินทรีย์แล้วจะสลายตัวอย่างรวดเร็ว ความแตกต่างนี้สะท้อนให้เห็นถึงความคล้ายคลึงต่ำของปรอท(II) กับลิแกนด์ของออกซิเจน สารประกอบนี้ทำปฏิกิริยากับเมอร์คิวริกคลอไรด์จะได้สารประกอบผสมคลอโล-เมทิล:
- (CH3)2Hg + HgCl2 → 2 CH3HgCl
เมื่อไดเมทิลเมอร์คิวรีเป็นของเหลวระเหย CH3HgCl จะอยู่ในรูปของแข็งผลึก
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "dimethylmercury – Compound Summary". PubChem Compound. US: National Center for Biotechnology Information. 16 September 2004. Identification and Related Records. สืบค้นเมื่อ 2021-01-29.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ATSDR - ToxFAQs: Mercury เก็บถาวร 1999-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ATSDR - Public Health Statement: Mercury เก็บถาวร 2002-08-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ATSDR - ALERT! Patterns of Metallic Mercury Exposure, 6/26/97 เก็บถาวร 2000-01-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ATSDR - MMG: Mercury เก็บถาวร 2003-08-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ATSDR - Toxicological Profile: Mercury เก็บถาวร 2001-07-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- National Pollutant Inventory - Mercury and compounds Fact Sheet เก็บถาวร 2006-04-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน