ไดเมทิลเมอร์คิวรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไดเมทิลเมอร์คิวรี
Dimethyl-mercury-3D-vdW.png
ชื่อตาม IUPAC Dimethylmercury[1]
ชื่ออื่น Dimethyl mercury[ต้องการอ้างอิง]
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [593-74-8][CAS]
PubChem 11645
EC number 209-805-3
UN number 3383
MeSH dimethyl+mercury
ChEBI 30786
RTECS number OW3010000
SMILES
 
Beilstein Reference 3600205
Gmelin Reference 25889
ChemSpider ID 11155
คุณสมบัติ
สูตรเคมี HgC2H6
มวลต่อหนึ่งโมล 230.66 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ Colorless liquid
ความหนาแน่น 2.961 g mL−1
จุดหลอมเหลว

-43 °C, 230 K, -45 °F

จุดเดือด

93-94 °C, 366-367 K, 199-201 °F

ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.543
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
57.9–65.7 kJ mol−1
ความอันตราย
GHS pictograms The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The environment pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
การจำแนกของ EU a very toxic substance such as snake venom there is a dose below which there is no detectable toxic effect. T+ Dangerous for the Environment (Nature) N
EU Index 080-007-00-3
NFPA 704
NFPA 704.svg
4
4
1
 
R-phrases R26/27/28, แม่แบบ:R33, R50/53
S-phrases (S1/2), S13, S28, S36, S45
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ไดเมทิลเมอร์คิวรี (อังกฤษ: Dimethylmercury) เป็นสารประกอบปรอทอินทรีย์ มีลักษณะเป็นของเหลวไม่มีสี เป็นหนึ่งในสารพิษต่อระบบประสาทที่มีฤทธิ์ร้ายแรงที่สุด มีกลิ่นหวานเล็กน้อย แต่การสูดดมไอระเหยของสารนี้เพื่อให้ได้กลิ่นเป็นอันตราย

การสังเคราะห์ โครงสร้าง ปฏิกิริยา[แก้]

ไดเมทิลเมอร์คิวรีเป็นหนึ่งในสารโลหอินทรีย์ชนิดแรก ๆ ที่มีการรายงาน สะท้อนให้เห็นถึงความเสถียรภาพ ไดเมทิลเมอร์คิวรีเกิดจากการผสมกันระหว่างโซเดียมอะมอลกัมกับเมทิลเฮไลด์:

Hg + 2 Na + 2 CH3I → Hg(CH3)2 + 2 NaI

นอกจากนี้ยังได้จากปฏิกิริยาแอลคิเลชันของเมอร์คิวริกคลอไรด์ด้วยเมทิลลิเทียม:

HgCl2 + 2 LiCH3 → Hg(CH3)2 + 2 LiCl

การเกิดปฏิกิริยา[แก้]

ไดเมทิลเมอร์คิวรีมีคุณสมบัติโดดเด่นคือไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ในขณะที่เมื่อทำปฏิกิริยากับสารประกอบแคดเมียมอินทรีย์และสารประกอบสังกะสีอินทรีย์แล้วจะสลายตัวอย่างรวดเร็ว ความแตกต่างนี้สะท้อนให้เห็นถึงความคล้ายคลึงต่ำของปรอท(II) กับลิแกนด์ของออกซิเจน สารประกอบนี้ทำปฏิกิริยากับเมอร์คิวริกคลอไรด์จะได้สารประกอบผสมคลอโล-เมทิล:

(CH3)2Hg + HgCl2 → 2 CH3HgCl

เมื่อไดเมทิลเมอร์คิวรีเป็นของเหลวระเหย CH3HgCl จะอยู่ในรูปของแข็งผลึก

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "dimethyl mercury - Compound Summary". PubChem Compound. USA: National Center for Biotechnology Information. 16 September 2004. Identification and Related Records. สืบค้นเมื่อ 10 March 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]