โฌแซ็ฟ ฟูรีเย
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
โฌแซ็ฟ ฟูรีเย | |
---|---|
เกิด | 21 มีนาคม ค.ศ. 1768 โอแซร์ แคว้นบูร์กอญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (ปัจจุบันอยู่ที่จังหวัดยอน ประเทศฝรั่งเศส) |
เสียชีวิต | 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1830 ปารีส ราชอาณาจักรฝรั่งเศส | (62 ปี)
สัญชาติ | ฝรั่งเศส |
ศิษย์เก่า | École Normale Supérieure |
มีชื่อเสียงจาก | (ดูรายชื่อ) จำนวนฟูรีเย อนุกรมฟูรีเย การแปลงฟูรีเย กฎการนำความร้อนของฟูรีเย Fourier–Motzkin elimination ปรากฏการณ์เรือนกระจก |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, ประวัติศาสตร์ |
สถาบันที่ทำงาน | École Normale Supérieure École Polytechnique |
อาจารย์ที่ปรึกษา | ฌ็อง-บาติสต์ บีโย โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียง | Peter Gustav Lejeune Dirichlet Claude-Louis Navier โจวันนี ปลานา |
ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย (ฝรั่งเศส: Jean Baptiste Joseph Fourier, ภาษาฝรั่งเศส: [fuʁje]; 21 มีนาคม ค.ศ. 1768 – 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1830) เป็นนักคณิตศาสตร์ เกิดที่เมืองโอแซร์ ประเทศฝรั่งเศส ฟูรีเยได้เดินทางติดตามนโปเลียนไปประเทศอียิปต์ในปี พ.ศ. 2341 หลังจากเดินทางกลับในปี พ.ศ. 2345 ฟูรีเยได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองเกรอนอบล์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2351 ได้รับบรรดาศักดิ์ชั้นบารอน
ฟูรีเยได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรก ในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูรีเยก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น "สมการฟูรีเย" เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ ฟูรีเยได้แสดงให้เห็นว่าฟังก์ชันหลายฟังก์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออกเป็นอนุกรมของไซน์ (sines) เชิงซ้อนของตัวแปร ที่เรียกในภายหลังว่า "อนุกรมฟูรีเย" โดยทั่วไปฟูรีเยมักได้รับการกล่าวถึงจากการค้นพบปรากฏการณ์เรือนกระจก[1]
ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย มีชีวิตอยู่ตรงกับสมัยระหว่างสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผลงาน
[แก้]- "Sur l'usage du théorème de Descartes dans la recherche des limites des racines". Bulletin des Sciences, Par la Société Philomatique de Paris: 156–165. 1820.
- Théorie analytique de la chaleur (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Firmin Didot Père et Fils. 1822. OCLC 2688081.
- Théorie analitique de la chaleur (ภาษาฝรั่งเศส). Vol. 1. Paris: Gauthier-Villars. 1888.
- "Remarques Générales Sur Les Températures Du Globe Terrestre Et Des Espaces Planétaires". Annales de Chimie et de Physique. 27: 136–167. 1824a.
- Gay-Lussac, Joseph Louis; Arago, François, บ.ก. (1824b). "Resume theorique des Proprietes de la chaleur rayonette". Annales de Chimie et de Physique. Paris. 27: 236–281.
- Mémoire sur la température du globe terrestre et des espaces planétaires. Vol. 7. Mémoires de l'Académie Royale des Sciences. 1827a. pp. 569–604. Translation by W M Connolley
- Mémoire sur la distinction des racines imaginaires, et sur l'application des théorèmes d'analyse algébrique aux équations transcendantes qui dépendant de la théorie de la chaleur. Vol. 7. Memoirs of the Royal Academy of Sciences of the Institut de France. 1827b. pp. 605–624.
- Analyse des équations déterminées. Vol. 10. Firmin Didot frères. 1827c. pp. 119–146. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-30. สืบค้นเมื่อ 2011-04-20.
- Remarques générales sur l'application du principe de l'analyse algébrique aux équations transcendantes. Vol. 10. Paris: Memoirs of the Royal Academy of Sciences of the Institut de France. 1827d. pp. 119–146.
- Mémoire d'analyse sur le mouvement de la chaleur dans les fluides. Vol. 12. Paris: Memoirs of the Royal Academy of Sciences of the Institut de France. 1833. pp. 507–530.
- Rapport sur les tontines. Vol. 5. Paris: Memoirs of the Royal Academy of Sciences of the Institut de France. 1821. pp. 26–43.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Cowie, J. (2007). Climate Change: Biological and Human Aspects. Cambridge University Press. p. 3. ISBN 978-0-521-69619-7.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Initial text from the public domain Rouse History of Mathematics
- Fourier, Joseph. (1822). Theorie Analytique de la Chaleur. Firmin Didot (reissued by Cambridge University Press, 2009; ISBN 978-1-108-00180-9)
- Fourier, Joseph. (1878). The Analytical Theory of Heat. Cambridge University Press (reissued by Cambridge University Press, 2009; ISBN 978-1-108-00178-6)
- Fourier, J.-B.-J. (1824). Mémoires de l'Académie Royale des Sciences de l'Institut de France VII. 570–604 (Mémoire sur Les Temperatures du Globe Terrestre et Des Espaces Planetaires – greenhouse effect essay published in 1827)
- Fourier, J. Éloge historique de Sir William Herschel, prononcé dans la séance publique de l'Académie royale des sciences le 7 Juin, 1824. Historie de l'Académie Royale des Sciences de l'Institut de France, tome vi., année 1823, p. lxi.[Pg 227]
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Joseph Fourier
- O'Connor, John J.; Robertson, Edmund F., "โฌแซ็ฟ ฟูรีเย", MacTutor History of Mathematics archive, University of St Andrews.
- Fourier, J. B. J., 1824, Remarques Générales Sur Les Températures Du Globe Terrestre Et Des Espaces Planétaires., in Annales de Chimie et de Physique, Vol. 27, pp. 136–167 – translation by Burgess (1837).
- Université Joseph Fourier, Grenoble, France เก็บถาวร 2006-06-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Joseph Fourier and the Vuvuzela on MathsBank.co.uk เก็บถาวร 2012-04-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- โฌแซ็ฟ ฟูรีเย at the Mathematics Genealogy Project
- Joseph Fourier – Œuvres complètes, tome 2 Gallican-Math
- "Episode 2 - Joseph Fourier". YouTube. École polytechnique. 16 January 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-15.