เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2021 รอบชิงชนะเลิศ
โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ. | |||||||
รายการ | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
วันที่ | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 | ||||||
สนาม | โอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน | ||||||
ผู้เล่นยอดเยี่ยม ประจำนัด | มาร์โค ร็อยส์ (โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์)[1] | ||||||
ผู้ตัดสิน | เฟลิกซ์ บรึช (มิวนิก)[2] | ||||||
ผู้ชม | 0[note 1] | ||||||
การแข่งขัน เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2021 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21, ฤดูกาลที่ 78 ของฟุตบอลถ้วยหลักของเยอรมนี. นัดนี้ลงเล่นไปเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[4][5] แมตช์นี้ตามกำหนดเดิมจะเป็นวันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2021,[6] แต่ถูกย้ายไปเป็นวันที่เร็วขึ้นก่อนที่ลีกจะจบฤดูกาลในเยอรมนี. นี่เป็นเนื่องมาจากความหนาแน่ของโปรแกรมการแข่งขันเกิดจากการเริ่มต้นฤดูกาลที่ล่าช้า, มีต้นกำเนิดมาจากการเลื่อนของการสิ้นสุดของฤดูกาลที่ผ่านมาอันเป็นผลมาจาก การระบาดทั่วของโควิด-19. เช่นเดียวกับการแข่งขันอื่นๆ, แมตช์นี้จะลงเล่น หลังปิดประตู โดยไม่มีผู้ชม.[3]
แมตช์นี้เป็นการพบกันระหว่าง แอร์เบ ไลพ์ซิช และ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์.
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงตารางการแข่งขัน, แมตช์นี้จะเป็นครั้งแรกของนัดชิงชนะเลิศเดเอ็ฟเบ-โพคาล นับตั้งแต่ ค.ศ. 2008 ที่จะเล่นก่อนจบฤดูกาลของลีก, และรอบชิงชนะเลิศครั้งแรกนับตั้งแต่ ค.ศ. 1985 ที่จะไม่ได้ลงเล่นในวันเสาร์. นอกจากนี้ยังเป็นรอบชิงชนะเลิศครั้งแรกในวันพฤหัสบดี, เช่นเดียวกับครั้งแรกที่ไม่ได้ลงเล่นในหนึ่ง สุดสัปดาห์, นับตั้งแต่ ค.ศ. 1984.[4]
ทีม
[แก้]ในตารางด้านล่างนี้, คู่ชิงชนะเลิศนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จะเป็นยุคทสชัมเมอร์โพคาล, ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จะเป็นยุค เดเอ็ฟเบ-โพคาล.
ทีม | จำนวนการลงสนามครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ) |
---|---|
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 1 (2019) |
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ | 9 (1963, 1965, 1989, 2008, 2012, 2014, 2015, 2016, 2017) |
ภูมิหลัง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (January 2021) |
เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เดเอ็ฟเบ-โพคาล เริ่มต้นกับ 64 ทีมในการแข่งขันรูปแบบถ้วยน็อคเอาต์ตกรอบเดียว. มีทั้งหมดห้ารอบนำหน้าก่อนถึงนัดชิงชนะเลิศ. แต่ละทีมถูกจับสลากพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะหลังจบ 90 นาทีจะได้ผ่านเข้ารอบ. ถ้าเสมอกัน, 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ จะได้ลงเล่น. ถ้าผลการแข่งขันยังคงระดับอยู่, การดวลลูกโทษ จะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศ.[7]
หมายเหตุ: ผลการแข่งขันด้านล่างนี้, ผลของทีมที่เข้าชิงชนะเลิศจะขึ้นเป็นตัวเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน).
แอร์เบ ไลพ์ซิช | รอบ | โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ | ||
---|---|---|---|---|
คู่แข่งขัน | ผล | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21 | คู่แข่งขัน | ผล |
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เนือร์นแบร์ค | 3–0 (A) | รอบแรก | เอ็มเอ็สเฟา ดืสบวร์ค | 5–0 (A) |
เอฟเซ เอาค์สบวร์ค | 3–0 (A) | รอบสอง | ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ | 2–0 (A) |
เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม | 4–0 (H) | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น | 3–2 (ต่อเวลา) (H) |
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค | 2–0 (H) | รอบก่อนรองชนะเลิศ | โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค | 1–0 (A) |
แวร์เดอร์เบรเมิน | 2–1 (ต่อเวลา) (A) |
รอบรองชนะเลิศ | โฮลสไตน์ คีล | 5–0 (H) |
แมตช์
[แก้]รายละเอียด
[แก้]แอร์เบ ไลพ์ซิช | 1–4 | โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
---|---|---|
โอลโม 71' | รายงาน | แซนโช 5', 45+1' โฮลัน 28', 87' |
แอร์เบ ไลพ์ซิช
|
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
|
|
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 The final will be played behind closed doors due to the COVID-19 pandemic in Germany.[3]
- ↑ แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเพียงสามครั้งในการเปลี่ยนตัวผู้เล่น, ด้วยโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนจะเริ่มของการต่อเวลาพิเศษและหมดครึ่งเวลาแรกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 German Football Association [@DFB_Pokal] (14 May 2021). "Pokalsieger und euer Man of the Match bei RBL-BVB: Marco Reus!" [Cup winner and your Man of the Match of RBL-BVB: Marco Reus!] (ทวีต) (ภาษาเยอรมัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 May 2021. สืบค้นเมื่อ 14 May 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Brych leitet Pokalfinale in Berlin" [Brych officiates cup final in Berlin]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 13 May 2021. สืบค้นเมื่อ 13 May 2021.
- ↑ 3.0 3.1 "DFB-Pokalfinale in Berlin ohne Zuschauer" [DFB-Pokal Final in Berlin without spectators]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 23 April 2021. สืบค้นเมื่อ 23 April 2021.
- ↑ 4.0 4.1 "Alle DFB-Pokalsieger" [All DFB-Pokal winners]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2016.
- ↑ "Rahmenterminkalender 2020/2021: Saison startet mit DFB-Pokal" [Framework schedule 2020–21: Season starts with DFB-Pokal]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 10 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
- ↑ "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender 2020/2021" [DFB executive committee passes framework schedule 2020/2021]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 5 December 2019. สืบค้นเมื่อ 5 December 2019.
- ↑ "Modus" [Mode]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2015.
- ↑ "Spielordnung" [Match rules] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. p. 58 (60 of PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-10-05. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.
- ↑ "Fünf Auswechslungen: DFB verlängert Ausnahmeregelung" [Five substitutions: DFB extends exceptional regulation]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 31 August 2020. สืบค้นเมื่อ 3 September 2020.