เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา
หน้าตา
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
พลจัตวา เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภา | |
ดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 | |
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ | |
ดำรงตำแหน่ง 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 | |
รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 29 ตุลาคม พ.ศ. 2500 |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 33 |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
ประจำการ | พ.ศ. 2523 - 2561 |
ยศ | พลตำรวจเอก |
พลตำรวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา(29 ตุลาคม 2500-) เป็นสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12[1] อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ[2] อดีตที่ปรึกษา(สบ.10) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการสำนักงานงบประมาณและการเงิน อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ[3]
ประวัติ
[แก้]พลตำรวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2500 เป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 33 (นรต.33)
การศึกษา
[แก้]- รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ
- พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์[4]
การดำรงตำแหน่ง
[แก้]- พ.ศ. 2554 - ผู้บัญชาการสำนักงานงบประมาณและการเงิน[5]
- พ.ศ. 2557 - รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4[6]
- พ.ศ. 2557 - ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[7]
- พ.ศ. 2558 - ที่ปรึกษา(สบ.10)[8]
- พ.ศ. 2559 - รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[9]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2558 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[10]
- พ.ศ. 2553 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[11]
- พ.ศ. 2560 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)[12]
- พ.ศ. 2536 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[13]
- พ.ศ. 2555 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[14]
- พ.ศ. 2546 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[15]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12
- ↑ ผบ.ตร.เซ็นตั้ง"เดชณรงค์"เป็นโฆษกสตช.แทน"ประวุฒิ"
- ↑ ผู้บัญชาการสำนักงานงบประมาณและการเงิน
- ↑ พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- ↑ ผู้บัญชาการสำนักงานงบประมาณและการเงิน
- ↑ ล้าง “ตร.มะเขือเทศ”- “ขรก.แดง” ภารกิจ “คสช.” เชือดระบอบทักษิณ
- ↑ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ ที่ปรึกษา(สบ.10)
- ↑ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๘, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๑ ข หน้า ๕, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๓ เก็บถาวร 2011-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๑๔ ข หน้า ๒๐, ๘ ธันวาคม ๒๕๕๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๐ เก็บถาวร 2017-10-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๘ ข หน้า ๔, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๑๖๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๐, ๑๕ ตุลาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๓ ข หน้า ๑๘, ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๑๔๙, ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๗