วิศาขาปัฏฏนัม
วิศาขาปัฏฏนัม | |
---|---|
จากบนลงล่าง, ซ้ายไปขวา: ทิวทัศน์ของหาดอาร์เค, ถนนโนวโรจี, สิงหจลัมมนเทียร, เทวรูปพระศิวะและพระปารวตีที่ไกรลาศคีรี, โรงพยาบาลคิงจอร์จ, ท่าวิศาขาปัฏฏนัม, วิศาขาปัฏฏนัมอินดัสเทรียลพาร์ก, ถนนเลียบหาดที่สวนเตนเนติ | |
สมญา: เมืองแห่งพรหมลิขิต อัญมณีแห่งชายฝั่งตะวันออก | |
พิกัด: 17°42′15″N 83°17′52″E / 17.70417°N 83.29778°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
รัฐ | อานธรประเทศ |
อำเภอ | วิศาขาปัฏฏนัม |
รวมตัว (เมือง) | ค.ศ. 1865 |
รวมตัว (นคร) | ค.ศ. 1979 |
การปกครอง | |
• ประเภท | องค์การเทศบาล |
• องค์กร | GVMC, VMRDA |
• นายกเทศมนตรี | Golagani Hari Venkata Kumari[1] (YSRCP) |
พื้นที่[2][3][4][5][6] | |
• มหานคร | 681.96 ตร.กม. (263.31 ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล[7][8] | 7,328.86 ตร.กม. (2,829.69 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2011)[9] | |
• มหานคร | 1,728,128 คน |
• อันดับ | อันดับที่ 17 |
• ความหนาแน่น | 2,500 คน/ตร.กม. (6,600 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล[10] | 53,40,000 คน |
เขตเวลา | UTC+5:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย) |
PIN | 530 0XX, 531 1XX [11] |
รหัสโทรศัพท์ | +91-891 |
ป้ายทะเบียนยานพาหนะ | AP-31, AP-32, AP-33, AP-34 , AP-39 |
ภาษาทางการ | เตลูกู |
เว็บไซต์ |
วิศาขาปัฏฏนัม (ฮินดี: विशाखापट्टनम, विशाखपट्नम; เตลูกู: విశాఖపట్నం) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทั้งทางด้านพื้นที่และจำนวนประชากรของรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย เมืองตั้งอยู่ห่างจากอมราวตีไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือราว 363 กม. (226 ไมล์) และห่าง 587 กม. (365 ไมล์) จากไฮเดอราบาด เมืองหลวงของรัฐอานธรประเทศและรัฐเตลังคานา เป็นศูนย์กลางการบริหารของเขตวิศาขาปัฏฏนัม และเป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของรัฐอานธรประเทศ[14] จากข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2011 เมืองมีประชากร 1,897,823 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 15 ของอินเดีย
อันดับเศรษฐกิจของเมืองมากเป็นอันดับ 10 ของประเทศ ด้วยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 26,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[15][16] วิศาขาปัฏฏนัมยังเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจของรัฐและมีเศรษฐกิจหลากหลายเช่น อุตสาหกรรมหนัก การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมแร่ ตกปลา เทคโนโลยีข้อมูล ส่วนท่าเรือ เมืองวิศาขาปัฏฏนัมยังเป็นท่าเรือที่คับคั่งที่สุดในอินเดียนับจากสินค้าบรรทุก[17] เมืองยังเป็นที่ตั้งการทัพเรือฝั่งตะวันออกของกองทัพเรืออินเดียและยังเป็นอู่ต่อเรือที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นท่าเรือทางธรรมชาติเพียงแห่งเดียวบนชายฝั่งทิศตะวันออกของประเทศอินเดีย[18]
ประวัติศาสตร์ของเมืองวิศาขาปัฏฏนัมย้อนไปได้ถึง 6 ศตวรรษก่อนคริสตกาล โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคกลิงคะ (Kalinga)[19][20]และต่อมาปกครองโดยอาณาจักรเวงคี ราชวงศ์ปัลลวะ และราชวงศ์คงคาตะวันออก (Eastern Ganga)[21] จากข้อมูลทางโบราณคดีเมืองในปัจจุบันสร้างราวศตวรรษที่ 11 และ 12 จากการปกครองระหว่างราชวงศ์โจฬะกับราชวงศ์คชปติ (Gajapati Kingdom)[19][20] จนกระทั่งจักรวรรดิวิชัยนครขึ้นมามีอำนาจในศตวรรษที่ 15 จากนั้นในศตวรรษที่ 16 ปกครองโดยจักรวรรดิโมกุล จนชาวยุโรปเริ่มมีผลประโยชน์การค้าในเมือง และปลายศตวรรษที่ 18 ตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส[19][20] จากนั้นภายใต้การปกครองของอังกฤษในปี ค.ศ. 1804 และเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษจนอินเดียประกาศอิสรภาพในปี ค.ศ. 1947 ภายหลังประกาศอิสรภาพเมืองพัฒนาเป็นเมืองท่าที่สำคัญและเป็นสถานที่ตั้งของการทัพเรือฝั่งตะวันออกของกองทัพเรืออินเดีย[19][20]
เมืองตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันออกกับอ่าวเบงกอล[22][23] เป็นที่รู้จักว่าเป็นอัญมณีแห่งชายฝั่งตะวันออก
ภูมิศาสตร์
[แก้]นครนี้ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันออกกับอ่าวเบงกอล[22] นครนี้ตั้งอยู่ในพิกัดภูมิศาสตร์ที่ 17.7041 N กับ 83.2977 E[12][13]
ภูมิอากาศ
[แก้]ข้อมูลภูมิอากาศของท่าอากาศยานวิศาขาปัฏฏนัม (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1901–2010) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 34.8 (94.6) |
38.4 (101.1) |
40.0 (104) |
40.5 (104.9) |
45.0 (113) |
45.4 (113.7) |
41.4 (106.5) |
38.8 (101.8) |
38.2 (100.8) |
37.2 (99) |
35.0 (95) |
34.0 (93.2) |
45.4 (113.7) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 29.5 (85.1) |
31.6 (88.9) |
34.2 (93.6) |
35.4 (95.7) |
36.3 (97.3) |
35.4 (95.7) |
33.4 (92.1) |
33.0 (91.4) |
33.0 (91.4) |
32.3 (90.1) |
30.9 (87.6) |
29.5 (85.1) |
32.9 (91.2) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 23.8 (74.8) |
25.9 (78.6) |
28.8 (83.8) |
30.7 (87.3) |
31.9 (89.4) |
31.5 (88.7) |
29.8 (85.6) |
29.6 (85.3) |
29.4 (84.9) |
28.5 (83.3) |
26.3 (79.3) |
23.9 (75) |
28.3 (82.9) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 18.4 (65.1) |
20.5 (68.9) |
23.7 (74.7) |
26.3 (79.3) |
27.8 (82) |
27.8 (82) |
26.7 (80.1) |
26.3 (79.3) |
26.1 (79) |
24.9 (76.8) |
22.0 (71.6) |
18.8 (65.8) |
24.1 (75.4) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 10.5 (50.9) |
12.8 (55) |
14.4 (57.9) |
18.3 (64.9) |
20.0 (68) |
21.1 (70) |
21.3 (70.3) |
21.1 (70) |
17.5 (63.5) |
17.6 (63.7) |
12.9 (55.2) |
11.3 (52.3) |
10.5 (50.9) |
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) | 10.5 (0.413) |
12.1 (0.476) |
11.4 (0.449) |
21.8 (0.858) |
63.0 (2.48) |
117.6 (4.63) |
130.4 (5.134) |
157.8 (6.213) |
202.1 (7.957) |
209.3 (8.24) |
87.9 (3.461) |
7.9 (0.311) |
1,031.7 (40.618) |
ความชื้นร้อยละ | 63 | 62 | 63 | 67 | 68 | 67 | 71 | 73 | 76 | 73 | 66 | 63 | 68 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 0.9 | 0.9 | 0.6 | 1.5 | 3.4 | 6.4 | 8.8 | 8.4 | 9.8 | 8.1 | 3.4 | 0.9 | 53.0 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 272.8 | 271.2 | 272.8 | 264.0 | 251.1 | 135.0 | 130.2 | 133.3 | 168.0 | 229.4 | 228.0 | 269.7 | 2,625.5 |
แหล่งที่มา 1: India Meteorological Department (ดวงอาทิตย์ ค.ศ. 1971–2000)[24][25][26] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Tokyo Climate Center (อุณหภูมิเฉลี่ย ค.ศ. 1981–2010)[27] |
ข้อมูลภูมิอากาศของวิศาขาปัฏฏนัม (Dolphin's Nose; ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1970–2005) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 30.7 (87.3) |
35.0 (95) |
36.2 (97.2) |
36.1 (97) |
42.8 (109) |
39.8 (103.6) |
39.8 (103.6) |
36.2 (97.2) |
36.6 (97.9) |
34.5 (94.1) |
32.4 (90.3) |
31.4 (88.5) |
42.8 (109) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 27.2 (81) |
26.9 (80.4) |
30.6 (87.1) |
31.5 (88.7) |
32.6 (90.7) |
32.2 (90) |
30.6 (87.1) |
30.5 (86.9) |
30.6 (87.1) |
30.2 (86.4) |
28.8 (83.8) |
27.4 (81.3) |
30.1 (86.2) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 19.8 (67.6) |
21.4 (70.5) |
23.5 (74.3) |
25.0 (77) |
26.1 (79) |
26.0 (78.8) |
25.0 (77) |
24.8 (76.6) |
24.8 (76.6) |
23.8 (74.8) |
21.8 (71.2) |
19.8 (67.6) |
23.5 (74.3) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 15.6 (60.1) |
17.7 (63.9) |
17.4 (63.3) |
17.9 (64.2) |
18.5 (65.3) |
18.4 (65.1) |
18.4 (65.1) |
19.6 (67.3) |
18.8 (65.8) |
19.4 (66.9) |
16.3 (61.3) |
14.1 (57.4) |
14.1 (57.4) |
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) | 14.3 (0.563) |
28.9 (1.138) |
14.6 (0.575) |
25.0 (0.984) |
66.0 (2.598) |
107.5 (4.232) |
131.8 (5.189) |
132.6 (5.22) |
161.6 (6.362) |
270.4 (10.646) |
105.1 (4.138) |
3.5 (0.138) |
1,061.2 (41.78) |
ความชื้นร้อยละ | 78 | 76 | 75 | 78 | 77 | 79 | 83 | 83 | 82 | 79 | 73 | 72 | 76 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 1.0 | 1.1 | 0.4 | 1.4 | 3.4 | 5.4 | 7.8 | 7.4 | 8.5 | 8.3 | 4.0 | 0.7 | 49.3 |
แหล่งที่มา: India Meteorological Department[24][25] |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Vizag mayor: Golagani Hari Venkata Kumari of YSRCP elected mayor of Visakhapatnam | Visakhapatnam News - Times of India". The Times of India.
- ↑ "Vizag metro gets in-principle nod | Visakhapatnam News - Times of India". The Times of India.
- ↑ "Vizag tops the list of most populated districts in AP | Visakhapatnam News - Yo Vizag". Yo Vizag.
- ↑ "Clean Visakha Green Visakha: Abstract". 2018: 168–172.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ "Now, GVMC area to be reorganised into 98 wards | Visakhapatnam News - Times of India". The Times of India.
- ↑ "Stakes high for 1st GVMC polls following merger of Bheemili&Anakapalli | Visakhapatnam News - Times of India". The Times of India.
- ↑ "Vizag to expand: 13 mandals added to VMRDA, beach corridor and airport prioritised | The News Minute". The News Minute.
- ↑ "VMRDA area now 7.3k sq km after addition of 13 mandals | Visakhapatnam News - Times of India". The Times of India.
- ↑ "INDIA STATS : Million plus cities in India as per Census 2011". Press Information Bureau, Mumbai. National Informatics Centre (NIC). สืบค้นเมื่อ 7 February 2012.
- ↑ "Key Facts on VMR" (PDF). Visakhapatnam Urban Development Authority. pp. 44–45. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 21 December 2015.
- ↑ Pincode List
- ↑ 12.0 12.1 "Maps, Weather, and Airports for Vishakhapatnam, India". www.fallingrain.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2017. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017.
- ↑ 13.0 13.1 Seta, Fumihiko; Biswas, Arindam; Khare, Ajay; Sen, Joy (2016). Understanding Built Environment: Proceedings of the National Conference on Sustainable Built Environment 2015 (ภาษาอังกฤษ). Springer. p. 98. ISBN 9789811021381. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017.
- ↑ "Administration-AP-Financial Capital". Visakhapatnam. 29 April 2015. สืบค้นเมื่อ 13 August 2015.
- ↑ "India's top 15 cities with the highest GDP". Yahoo Finance. 28 September 2012. สืบค้นเมื่อ 4 September 2015.
- ↑ Nicole Bippen (17 February 2014). "The 10 Richest Indian Cities". The Richest. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-21. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
- ↑ "Competition shakes up Visakhapatnam port". HT Mint. 11 February 2010. สืบค้นเมื่อ 22 November 2012.
- ↑ Gopalakrishnan, Hema (7 November 2012). "A career in Vizag". The Hindu. สืบค้นเมื่อ 18 May 2015.
- ↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 "Maps of India - Visakhapatnam History". Maps of India. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015.
- ↑ 20.0 20.1 20.2 20.3 "History Of Visakhapatnam". I Love India. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015.
- ↑ "Visakhapatnam District". Visakhapatnam District. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015.
- ↑ 22.0 22.1 "In pics: Hudhud takes the green sheen off Vizag". Hindustan Times. 21 October 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2017. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017.
- ↑ "About District | Visakhapatnam District, Government of Andhra Pradesh | India". สืบค้นเมื่อ 2020-04-16.
- ↑ 24.0 24.1 "Climatological Normals 1981–2010" (PDF). India Meteorological Department. January 2015. pp. 794–798. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 17 February 2020.
- ↑ 25.0 25.1 "Extremes of Temperature & Rainfall for Indian Stations (Up to 2012)" (PDF). India Meteorological Department. December 2016. p. M20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 17 February 2020.
- ↑ "Table 3 Monthly mean duration of Sun Shine (hours) at different locations in India" (PDF). Daily Normals of Global & Diffuse Radiation (1971–2000). India Meteorological Department. December 2016. p. M-3. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-05. สืบค้นเมื่อ 10 February 2020.
- ↑ "Normals Data: Visakhapatnam - India Latitude: 17.72°N Longitude: 83.30°E Height: 3 (m)". Japan Meteorological Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 February 2020. สืบค้นเมื่อ 29 February 2020.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- "DMRC to prepare report on Vizag metro rail". 12 September 2014. สืบค้นเมื่อ 19 September 2014.*
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิศาขาปัฏฏนัม ที่เว็บไซต์ Curlie
- Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 28 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 164–165. This contains a detailed description of the town and district under British rule.
- Official website of Visakhapatnam Urban Development Authority เก็บถาวร 2021-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "Cities having population 1 lakh and above" (PDF). India Census 2011. 31 January 2012.