ราษฎรอาวุโส
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ราษฎรอาวุโส (อังกฤษ: Senior people) เป็นคำเรียกบุคคลชาวไทย หมายถึง บุคคลที่ดำรงตนเป็นผู้มีคุณประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาชนบท การพัฒนาชุมชน และการเสนอความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม โดยจะถูกได้รับการยกย่องจากวงการสื่อมวลชน[1]
จุดเริ่มต้นที่มาของคำว่า "ราษฎรอาวุโส" เกิดขึ้นเมื่อประเทศไทยเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองในปี พ.ศ. 2535 โดยมีบุคคลที่ถือเป็นปัญญาทางสังคม 4 คน ได้เสนอข้อคิดเห็นโดยไม่ฝักฝ่ายทางการเมือง สื่อมวลชนจึงขนานนามว่า "ราษฎรอาวุโส"[ต้องการอ้างอิง] ได้แก่
- ศาสตราจารย์ เสน่ห์ จามริก[2]
- ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประเวศ วะสี[3]
- ศาสตราจารย์ ระพี สาคริก[4]
- ศาสตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว
- ศาสตราจารย์ สุมน อมรวิวัฒน์
- คุณหญิง อัมพร มีศุข[5]
- สุลักษณ์ ศิวรักษ์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ข่าวสิ้น “ศ.ระพี สาคริก” ราษฎรอาวุโสผู้เปี่ยมเมตตา pptv ปรับปรุงล่าสุด 17 ก.พ. 2561 ย่อหน้าสุดท่าย บรรทัดที่5
- ↑ 3 ราษฎรอาวุโส ได้ร่วมกันแสดงปาฐกถาในหัวข้อ "ฟื้นฟูแผ่นดิน"[ลิงก์เสีย]
- ↑ ราษฎรอาวุโสหนุนยุทธศาสตร์ประเทศพลังสามประสาน
- ↑ ข่าวสิ้น “ศ.ระพี สาคริก” ราษฎรอาวุโสผู้เปี่ยมเมตตา pptv ปรับปรุงล่าสุด 17 ก.พ. 2561,13:23น.
- ↑ "3ราษฎรอาวุโสแนะรัฐยกเลิกกฎอัยการศึกใน3จังหวัดชายภาคใต้". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-07. สืบค้นเมื่อ 2018-12-16.