ข้ามไปเนื้อหา

มหายุคนีโออาร์เคียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มหายุคนีโออาร์เคียน
2800 – 2500 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
การเสนอคำนิยามใหม่2780–2420 Ma
Gradstein et al., 2012
การเสนอการแบ่งย่อยยุคเมทาเนียน (Methanian Period), 2780–2630 Ma

Gradstein et al., 2012
ยุคไซดีเรียน, 2630–2420

Gradstein et al., 2012
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
การสะกดแบบอื่นNeoarchaean
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลามหายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินมหายุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างกำหนดตามลำดับเวลา
ขอบล่าง GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
คำนิยามขอบบนกำหนดตามลำดับเวลา
ขอบบน GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 0.2 % โดยปริมาตร
(1 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 7500 ppm
(27 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 31 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 17 °C)

มหายุคนีโออาร์เคียน (อังกฤษ: Neoarchean) เป็นยุคสุดท้ายแห่งบรมยุคอาร์เคียน อยู่ระหว่าง 2,800 ล้านปีมาแล้วถึง 2,500 ล้านปีมาแล้ว ในยุคนี้มีโพรแคริโอต ชนิดที่เป็นจุดเด่นคือ สโตรมาโตไลต์ ซึ่งเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ เป็น ออกซิเจน ทำให้มีออกซิเจนมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อการหายใจ เพราะมีออกซิเจนเพียง 0.2%

อ้างอิง

[แก้]
ต่อจาก
บรมยุคฮาเดียน
บรมยุคอาร์เคียน ตามด้วย
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
มหายุคอีโออาร์เคียน มหายุคพาลีโออาร์เคียน มหายุคมีโซอาร์เคียน มหายุคนีโออาร์เคียน