มหายุคอีโออาร์เคียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มหายุคอีโออาร์เคียน
4000 – 3600 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
การสะกดแบบอื่นEoarchaean
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลามหายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินมหายุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างกำหนดตามลำดับเวลา
ขอบล่าง GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
คำนิยามขอบบนกำหนดตามลำดับเวลา
ขอบบน GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 0 % โดยปริมาตร
(0 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 12500 ppm
(45 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 40 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 26 °C)

มหายุคอีโออาร์เคียน (อังกฤษ: Eoarchean) เป็นยุคแรกแห่งบรมยุคอาร์เคียนประมาณ 4,000(3,800) ล้านปีมาแล้วถึง 3,800(3,600) ประมาณ 200 ล้านปีแห่งการกำเนิดหน่วยแห่งสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่อาร์เอ็นเอ ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตชนิดแรก อากาศในยุคนี้ร้อนมาก ยุคนี้เป็นยุคแห่งอุกกาบาต เพราะมีการชนอย่างหนักตอนปลาย(Late Heavy Bombardment:LHB)ไม่มีออกซิเจนเลย ความร้อนที่มีทำให้วัตถุอนินทรีย์มารวมกันเป็นวัตถุอินทรีย์ ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตหลากหลายในเวลาต่อมา

อ้างอิง[แก้]

ต่อจาก
บรมยุคฮาเดียน
บรมยุคอาร์เคียน ตามด้วย
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
มหายุคอีโออาร์เคียน มหายุคพาลีโออาร์เคียน มหายุคมีโซอาร์เคียน มหายุคนีโออาร์เคียน