ภาษาเคิร์ดเหนือ
ภาษาเคิร์ดเหนือ | |
---|---|
กุรมันจี | |
کورمانجی, Kurmancî | |
ภูมิภาค | เคอร์ดิสถาน และชนพลัดถิ่นเคิร์ด[1] |
จำนวนผู้พูด | 15.7 ล้านคน (2019)[2] |
ตระกูลภาษา | |
ภาษาถิ่น | Botani (Boti)
Marashi
Ashiti
Bayezidi
Hekari
Shemdinani
Badini
Shikaki
Silivi
Mihemedi[1]
|
ระบบการเขียน |
|
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | อาร์มีเนีย[1] |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | ku |
ISO 639-3 | kmr |
Linguasphere | 58-AAA-a |
ภาษากุรมันจี (เคิร์ด: کورمانجی, Kurmancî, แปลตรงตัว 'เคิร์ด')[5][6][7][8] หรือ ภาษาเคิร์ดเหนือ[1][9][10] เป็นภาษาย่อยทางเหนือ[13]ของภาษาเคิร์ด ที่มีผู้พูดส่วนใหญ้ในตุรกีตะวันออกเฉียงใต้ อิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงเหนือ อิรักตอนเหนือ ซีเรียตอนเหนือ และคอเคซัสกับภูมิภาคโฆรอซอน[14]
หลักฐานแรกสุดของภาษาเคิร์ดกุรมันจีสืบได้ถึงประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนักกวีชาวเคิร์ดคนสำคัญหลายคนอย่าง Ehmedê Xanî (1650–1707) เขียนในภาษาย่อยนี้[15][7] ภาษานี้ยังเป็นภาษาทั่วไปและภาษาเชิงพิธีของชาวยาซีดี[16] โดยคัมภีร์ Mishefa Reş และบทสวดทั้งหมดเขียนและอ่านในภาษากุรมันจี[17]
ประวัติของชื่อภาษา
[แก้]ทฤษฎีหลักเกี่ยวกับที่มาของคำ Kurmanji เชื่อว่ามาจากเจ้าชาย Jaladet Bedirkhan นักปราชญ์ชาวเคิร์ดผู้คิดค้นการเขียนภาษาเคิร์ดด้วยอักษรละตินโดยมาจาก Kurd+man+cî หมายถึงชาวเคิร์ดผู้อยู่ในดินแดนของตนเอง ในช่วงแรกๆจะเพิ่มตัว "d" เป็น Kurdmanji แต่ในยุคหลังตัว d หายไป
อีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า Kurmanji หมายถึงชาวเคิร์ดในเมเดีย โดยตัวสะกดเดิมคือ Khormenj ในประวัติศาสตร์ ชาวเคิร์ดอยู่ในดินแดนที่ภาษากรีกเรียกว่า Armenia และภาษากรีก Armen อาจจะกลายเป็นศัพท์ Khormen ส่วนชื่อในภาษาอาร์มีเนียคือ Haiq
นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่า คำว่า Kurmanji มาจากคำ 2 คำคือ kur (เด็กชาย) และ magi ซึ่งเป็นชื่อเผ่าโบราณในจักรวรรดิเมเดีย ซึ่งมีกล่าวอ้างถึงในไบเบิล คำเต็มคือ Kurên Magî ซึ่งหมายถึงเด็กแห่งมาคี นักวิชาการกลุ่มนี้เชื่อว่าเผ่ามาคีคือผู้พูดภาษาเคิร์ดดั้งเดิม[18]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Ethnologue - Kurmanji Kurdish". สืบค้นเมื่อ 3 February 2018.
- ↑ "Turkey - languages". สืบค้นเมื่อ 8 July 2022.
- ↑ "Social Contract - Sa-Nes". Self-Administration of North & East Syria Representation in Benelux. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 March 2019.
- ↑ "Rojava could be a model for all Syria". Salih Muslim. Nationalita. 29 July 2014. สืบค้นเมื่อ 22 March 2019.
- ↑ Captain R. E. Jardine (1922). Bahdinan Kurmanji - A grammar of the Kurmanji of the Kurds of Mosul division and surrounding districts of Kurdistan. Baghdad: Government Press. p. ii.
- ↑ Ayfer Gokalp (August 2015). "Language and Literacy Practices of Kurdish Children Across Their Home and School Spaces in Turkey" (PDF). Arizona State University: 146. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-03-30. สืบค้นเมื่อ 19 March 2019.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ 7.0 7.1 Paul, Ludwig (2008). "Kurdish language I. History of the Kurdish language". ใน Yarshater, Ehsan (บ.ก.). Encyclopædia Iranica. London and New York: Routledge. สืบค้นเมื่อ 28 August 2013.
- ↑ Georg Krotkoff (1997). Humanism, Culture, and Language in the Near East. p. 299.
- ↑ "Ethnologue - Kurdish". สืบค้นเมื่อ 19 March 2019.
- ↑ E. S. Soane (1909). Notes on Kurdish Dialects. p. 906. ISBN 9788120617506. สืบค้นเมื่อ 22 March 2019.
- ↑ Thackston, W. M. "—Kurmanji Kurdish— A Reference Grammar with Selected Readings" (PDF). Harvard University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-03-08. สืบค้นเมื่อ 2023-01-08.
- ↑ Ehsan Yar-Shater. "Encyclopaedia Iranica". Encyclopaedia Iranica. University of California. 3 (5–8): 485.
- ↑ บางแหล่งระบุเป็นภาษา[11] หรือกลุ่มภาษาย่อย[12]
- ↑ Philip G. Kreyenbroek, Stefan Sperl (2005). The Kurds : a Contemporary Overview. Routledge. ISBN 1134907656.
- ↑ Sebastian Maisel (2018). The Kurds: An Encyclopedia of Life, Culture, and Society. pp. 164–165.
- ↑ "Yazidis i. General". สืบค้นเมื่อ 19 March 2019.
- ↑ Arakelova, Victoria (2001). "Healing Practices among the Yezidi Sheikhs of Armenia". Asian Folklore Studies. 60 (2): 319–328. doi:10.2307/1179060. JSTOR 1179060.
As for their language, the Yezidis themselves, in an attempt to avoid being identified with Kurds, call it Ezdiki.
- ↑ Who Were the Magi?
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Wîkîferheng Kurdish (Kurmanji) Wiktionary
- Kurdish Institute Kurdish language, history, books and latest news articles.
- Egerîn, Kurdish (Kurmanji) search engine
- Reference Grammar with Selected Readings for Kurmanji Kurdish, written by W. M. Thackston (Harvard University) เก็บถาวร 2021-07-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Baran, Murat (2021). Kurdish Grammar: KURMANJI Reference Book. Erzîrom: Amazon publishing. ISBN 979-8666578360.