ฟุตบอลทีมชาติบังกลาเทศรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
หน้าตา
ฉายา | เสือเบงกอล | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลบังกลาเทศ | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ (SAFF) | ||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | เจมี เดย์ | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาแห่งชาติบังกาบัณฑู | ||
| |||
เอเชียนเกมส์ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 2002) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2018) | ||
กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 2004) | ||
ผลงานดีที่สุด | เหรียญทอง (2010) |
ฟุตบอลทีมชาติบังกลาเทศรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นทีมฟุตบอลเยาวชนภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลบังกลาเทศ และเป็นตัวแทนของบังกลาเทศในการแข่งขันโอลิมปิก, ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี และเอเชียนเกมส์[1]
ในเอเชียนเกมส์ 2018 บังกลาเทศอยู่ในกลุ่มบี ร่วมกับไทย, อุซเบกิสถาน และกาตาร์ ปรากฏว่าทีมได้สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้าร่วมการแข่งขัน[2]
สถิติการแข่งขัน
[แก้]เอเชียนเกมส์
[แก้]เจ้าภาพ / ปี | ผลงาน | อันดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2002 ปูซาน | 20/24 | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 9 | |
2006 โดฮา | 24/30 | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 13 | |
2010 กวางโจว | 24/24 | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 10 | |
2014 อินช็อน | 20/29 | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 5 | |
2018 จาการ์ตา | รอบ 16 ทีมสุดท้าย |
15/25 | 4 | 1 | 1 | 2 | 3 | 7 |
2022 หางโจว | TBA |
TBA/TBA | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
Total | 5/5 | - | 16 | 2 | 1 | 13 | 9 | 44 |
กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้
[แก้]ปี | ผลงาน |
---|---|
2004 อิสลามาบาด | |
2006 โคลัมโบ | |
2010 ธากา | |
2016 Guwahati/Shillong |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Bangladesh U23". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 26 June 2014.
- ↑ ""บังคลาเทศ" ลิ่วน็อคเอาท์เอเชียนเกมส์ครั้งแรก". Goal. สืบค้นเมื่อ 20 August 2018.