ฟุตบอลทีมชาติบังกลาเทศรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บังกลาเทศ อายุไม่เกิน 23 ปี
ฉายาเสือเบงกอล
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลบังกลาเทศ
สมาพันธ์ย่อยสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ (SAFF)
สมาพันธ์สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเจมี เดย์
สนามเหย้าสนามกีฬาแห่งชาติบังกาบัณฑู
เอเชียนเกมส์
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2002)
ผลงานดีที่สุดรอบ 16 ทีมสุดท้าย (2018)
กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2004)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ เหรียญทอง (2010)

ฟุตบอลทีมชาติบังกลาเทศรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นทีมฟุตบอลเยาวชนภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลบังกลาเทศ และเป็นตัวแทนของบังกลาเทศในการแข่งขันโอลิมปิก, ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี และเอเชียนเกมส์[1]

ในเอเชียนเกมส์ 2018 บังกลาเทศอยู่ในกลุ่มบี ร่วมกับไทย, อุซเบกิสถาน และกาตาร์ ปรากฏว่าทีมได้สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้าร่วมการแข่งขัน[2]

สถิติการแข่งขัน[แก้]

เอเชียนเกมส์[แก้]

เจ้าภาพ / ปี ผลงาน อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
เกาหลีใต้ 2002 ปูซาน
รอบคัดเลือก
20/24 3 0 0 3 1 9
ประเทศกาตาร์ 2006 โดฮา
รอบที่ 2
24/30 3 0 0 3 2 13
จีน 2010 กวางโจว
รอบแบ่งกลุ่ม
24/24 3 0 0 3 1 10
เกาหลีใต้ 2014 อินช็อน
รอบแบ่งกลุ่ม
20/29 3 1 0 2 2 5
อินโดนีเซีย 2018 จาการ์ตา
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
15/25 4 1 1 2 3 7
จีน 2022 หางโจว
TBA
TBA/TBA 0 0 0 0 0 0
Total 5/5 - 16 2 1 13 9 44

กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้[แก้]

ปี ผลงาน
ปากีสถาน 2004 อิสลามาบาด
รอบแบ่งกลุ่ม
ศรีลังกา 2006 โคลัมโบ
รอบแบ่งกลุ่ม
บังกลาเทศ 2010 ธากา
เหรียญทอง
อินเดีย 2016 Guwahati/Shillong
เหรียญทองแดง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Bangladesh U23". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 26 June 2014.
  2. ""บังคลาเทศ" ลิ่วน็อคเอาท์เอเชียนเกมส์ครั้งแรก". Goal. สืบค้นเมื่อ 20 August 2018.