ฟีนิลอะลานีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีนิลอะลานีน
Skeletal formula
Skeletal formula of L-phenylalanine

L-Phenylalanine at physiological pH
ชื่อ
Pronunciation US: /ˌfɛnəlˈælənn/, UK: /ˌfnl-/
IUPAC name
Phenylalanine
Systematic IUPAC name
(S)-2-Amino-3-phenylpropanoic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.000.517 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
KEGG
UNII
  • InChI=1S/C9H11NO2/c10-8(9(11)12)6-7-4-2-1-3-5-7/h1-5,8H,6,10H2,(H,11,12)/t8-/m0/s1 checkY
    Key: COLNVLDHVKWLRT-QMMMGPOBSA-N checkY
  • L: Key: COLNVLDHVKWLRT-QMMMGPOBBC
  • D/L: Key: COLNVLDHVKWLRT-UHFFFAOYSA-N
  • D: Key: COLNVLDHVKWLRT-MRVPVSSYSA-N
  • L: c1ccc(cc1)C[C@@H](C(=O)O)N
  • L Zwitterion: [NH3+][C@@H](CC1=CC=CC=C1)C([O-])=O
คุณสมบัติ
C9H11NO2
มวลโมเลกุล 165.192 g·mol−1
pKa 1.83 (คาร์บอกซิล), 9.13 (อะมิโน)[2]
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
2
1
0
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ฟีนิลอะลานีน (อังกฤษ: phenylalanine, สัญลักษณ์: Phe, F)[3] คือกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่จัดเป็นกรดอะมิโนจำเป็น เนื่องจากร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์เองได้ กรดอะโนชนิดนี้จึงต้องได้รับจากอาหาร ฟีนิลอะลานีนมีสูตรโครงสร้างทางเคมีคือ C6H5CH2CH(NH2)COOH

สมบัติ[แก้]

ฟีนิลอะลานีนมีสูตรโมเลกุลคือ C
9
H
11
NO
2
และมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 165.19 g/mol ในโครงสร้างประกอบด้วยหมู่ฟังก์ชันได้แก่หมู่ฟีนิล ซึ่งเป็นวงอะโรมาติคคาร์บอน 1 หมู่, หมู่อะมิโน 1 หมู่ และหมู่คาร์บอกซิล 1 หมู่

ประโยชน์[แก้]

เนื่องจากร่างกายยังสามารถเปลี่ยนฟีนิลอะลานีนให้กลายเป็นกรดอะมิโนที่มีชื่อว่าไทโรซีนได้ โดยไทโรซีนเป็นกรดอะมิโนที่มีความสำคัญในการสังเคราะห์ฮอร์โมนหลายชนิด เช่น เอพิเนฟรีน (epinephrine), นอร์เอพิเนฟรีน (norepinephrine) และไทรอยด์ฮอร์โมน (thyroid hormone) และเนื่องจากการที่ฮอร์โมนเอพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนที่ส่งผลต่ออารมณ์ ถ้าหากร่างกายขาดฟีนิลอะลานีนก็จะทำให้เกิดอาการสับสน หดหู่ ขาดความกระปรี้กระเปร่า มีปัญหาเรื่องความจำ เป็นต้น[4]

กรดอะมิโนจำเป็นชนิดอื่น[แก้]

ในเด็กมีเพิ่มอีก 2 ตัว ดังนี้

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Ihlefeldt, Franziska Stefanie; Pettersen, Fredrik Bjarte; von Bonin, Aidan; Zawadzka, Malgorzata; Görbitz, Prof. Carl Henrik (2014). "The Polymorphs of L‐Phenylalanine". Angew. Chem. Int. Ed. 53 (49): 13600–13604. doi:10.1002/anie.201406886. PMID 25336255.
  2. Dawson RM, และคณะ (1959). Data for Biochemical Research. Oxford: Clarendon Press.
  3. "Nomenclature and Symbolism for Amino Acids and Peptides". IUPAC-IUB Joint Commission on Biochemical Nomenclature. 1983. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2008. สืบค้นเมื่อ 5 March 2018.
  4. http://www.umm.edu/altmed/articles/phenylalanine-000318.htm

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]