ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปมานิทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎top: บอต: นำแม่แบบออก, removed: {{รอการตรวจสอบ}}
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Filippino Lippi 001.jpg|thumb|260px|right|''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดย[[ฟีลิปปีโน ลิปปี]] “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันใน[[จิตรกรรม]]ใน[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์]]
[[ไฟล์:Filippino Lippi 001.jpg|thumb|260px|right|''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดย[[ฟีลิปปีโน ลิปปี]] “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันใน[[จิตรกรรม]]ใน[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์]]
'''อุปมานิทัศน์'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|Allegory}}) มาจาก[[ภาษากรีก]] “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึง[[ศิลปะ]]ที่ใช้[[สัญลักษณ์]]แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน
'''อุปมานิทัศน์'''<ref>{{Cite web |url=http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |title=ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน |access-date=2012-02-22 |archive-date=2017-07-15 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |url-status=dead }}</ref> ({{lang-en|Allegory}}) มาจาก[[ภาษากรีก]] “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึง[[ศิลปะ]]ที่ใช้[[สัญลักษณ์]]แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน


อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงาน[[วรรณกรรม]] แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบใน[[จิตรกรรม]]หรือ[[ประติมากรรม]] หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ
อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงาน[[วรรณกรรม]] แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบใน[[จิตรกรรม]]หรือ[[ประติมากรรม]] หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:44, 9 สิงหาคม 2564

อุปมานิทัศน์ของดนตรี โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์

อุปมานิทัศน์[1] (อังกฤษ: Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน

อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ

ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว

ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหน ...”[2]

ตัวอย่างงานอุปมานิทัศน์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2012-02-22.
  2. เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน (1991), The Lord of the Rings, สำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์คอลลินส์, ISBN 0-261-10238-9

ดูเพิ่ม[แก้]