ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2430"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
=== เมษายน ===
=== เมษายน ===
* [[8 เมษายน]] – สยามตรา[[พระราชบัญญัติจัดกรมทหาร]]รวม[[ทหารบก]]และ[[ทหารเรือ]]เข้าด้วยกัน
* [[8 เมษายน]] – สยามตรา[[พระราชบัญญัติจัดกรมทหาร]]รวม[[ทหารบก]]และ[[ทหารเรือ]]เข้าด้วยกัน
=== พฤษภาคม ===
* [[6 พฤษภาคม]] – ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระบรมราชโองการประกาศจัดตั้งกรมศึกษาธิการ
=== มิถุนายน ===
=== มิถุนายน ===
* [[7 มิถุนายน]] – [[สงครามปราบฮ่อ]] เกิดขึ้นในรัชสมัยของ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้กองทัพทหารไทย(สยาม) ได้รับชัยชนปราบฮ่อได้ราบคราบเดินทางกลับมาถึงกรุงเทพ
* [[7 มิถุนายน]] – [[สงครามปราบฮ่อ]] เกิดขึ้นในรัชสมัยของ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้กองทัพทหารไทย(สยาม) ได้รับชัยชนปราบฮ่อได้ราบคราบเดินทางกลับมาถึงกรุงเทพ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:40, 14 เมษายน 2564

ประเทศไทย
ใน พ.ศ.
2430
ดูเพิ่ม:

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1887) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 106 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 20 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นปี จ.ศ. 1248 (1 มกราคม - 23 มีนาคม) และ 1249 (24 มีนาคม - 31 ธันวาคม) ในแบบปัจจุบัน

ผู้นำ

เหตุการณ์

มกราคม

  • 4 มกราคมราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศไปรษณีย์ ให้จัดจำหน่ายตั๋วตราและไปรษณียบัตรแบบใหม่ เริ่มต้นวันที่ 1 เมษายน โดยสามารถใช้ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่วนตั๋วตราและไปรษณียบัตรแบบเดิม สามารถใช้ได้แค่ในประเทศเท่านั้น

กุมภาพันธ์

  • 2 กุมภาพันธ์ – ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศการโทรศัพท์ แจ้งการเริ่มต้นเปิดให้บริการโทรศัพท์ภายในกรุงเทพมหานคร ต่อเมื่อมีจำนวนผู้ใช้บริการถึง 30 ราย

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

  • 6 พฤษภาคม – ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระบรมราชโองการประกาศจัดตั้งกรมศึกษาธิการ

มิถุนายน

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

ไม่ทราบวัน

  • พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงพยาบาลหลวงขึ้นที่ตำบลวังหลังเป็นแห่งแรก เรียกกันขณะนั้นว่า โรงพยาบาลวังหลัง ปีต่อมาพระราชทานชื่อ โรงพยาบาลศิริราช

ผู้เสียชีวิต

กุมภาพันธ์

แหล่งข้อมูลอื่น