ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอลำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 27: บรรทัด 27:


หมอลำกลอนที่มีชื่อเสียง
หมอลำกลอนที่มีชื่อเสียง
[[ทองมาก จันทะลือ]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2529

[[ฉวีวรรณ ดำเนิน]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2536
[[เคน ดาเหลา]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2534
[[ฉวีวรรณ ดำเนิน]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2536 [[ไฟล์:ฉวีวรรณ ดำเนิน.jpg|thumb|160px|ฉวีวรรณ ดำเนิน]]

[[บุญเพ็ง ไฝผิวชัย]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2540
[[ไฟล์:ฉวีวรรณ ดำเนิน.jpg|thumb|160px|ฉวีวรรณ ดำเนิน]]
[[บุญช่วง เด่นดวง]] ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2555
[[ฉลาด ส่งเสริม]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2549
[[บานเย็น รากแก่น]] ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2556
[[ไฟล์:หมอลำบุญช่วง เด่นดวง ศิลปินมรดกอีสาน.jpg|thumb|180px|บุญช่วง เด่นดวง]]
[[บุญช่วง เด่นดวง]] ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2555 [[ไฟล์:หมอลำบุญช่วง เด่นดวง ศิลปินมรดกอีสาน.jpg|thumb|180px|บุญช่วง เด่นดวง]]


== ประเภทของทำนองการลำ ==
== ประเภทของทำนองการลำ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:49, 21 กุมภาพันธ์ 2564

หมอแคนกำลังบรรเลงเพลงให้กับหมอลำ
การประชันกันของหมอลำซิ่งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย

หมอลำ (อีสาน: หมอลำ; ลาว: ໝໍລຳ) เป็นรูปแบบของเพลงลาวโบราณในประเทศลาวและภาคอีสานของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายอย่าง ตามลักษณะทำนองของการลำ เช่น ลำเต้ย ลำพื้น ลำกลอน ลำเรื่อง ลำเรื่องต่อกลอน ลำเพลิน ลำซิ่ง

คำว่า "หมอลำ" มาจากคำ 2 คำมารวมกัน ได้แก่ "หมอ" หมายถึง ผู้มีความชำนาญ และ "ลำ" หมายถึง การบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองอันไพเราะ ดังนั้น หมอลำ จึงหมายถึง ผู้ที่มีความชำนาญในการบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองเพลง

ประเภทของหมอลำ

หมอลำ นั้นจะมีประเภทของการแสดงซึ่งเป็นที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้

หมอลำกลอน

หมอลำกลอน เป็นหมอลำที่มีความเก่าแก่มาก และเป็นที่นิยมในอดีต ซึ่งจะมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวโดยจะมีการลำแบบชิงชู้ ชิงทรัพย์ และจะมีการพูดคำสอยแทรกเข้ามาระหว่างการลำด้วยทำให้เกิดความตลกขบขัน ซึ่งเป็นสีสันของการแสดง หมอลำกลอนจะประกอบไปด้วย หมอลำฝ่ายชาย หมอลำฝ่ายหญิง และหมอแคน ส่วนเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการลำ คือ แคน ซึ่งใช้ในการกำกับจังหวะและดูลายในการลำ ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ มักจะจ้างไปในงานกฐิน และงานผ้าป่า เป็นต้น

หมอลำกลอนที่มีชื่อเสียง ทองมาก จันทะลือ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2529 เคน ดาเหลา ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2534

ฉวีวรรณ ดำเนิน ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2536

ไฟล์:ฉวีวรรณ ดำเนิน.jpg
ฉวีวรรณ ดำเนิน

บุญเพ็ง ไฝผิวชัย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2540 ฉลาด ส่งเสริม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2549 บานเย็น รากแก่น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2556

บุญช่วง เด่นดวง ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอลำ) พ.ศ.2555

ไฟล์:หมอลำบุญช่วง เด่นดวง ศิลปินมรดกอีสาน.jpg
บุญช่วง เด่นดวง

ประเภทของทำนองการลำ

การแสดงหมอลำ ยังมีการลำทำนองต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะการลำ ทำนอง และสังวาส ที่แตกต่างกันไปตามถิ่นต่าง ๆ ในภาคอีสาน มีดังนี้

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น