ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Space Telescope
{{Infobox Space Telescope
| name = ''ยานอวกาศเคปเลอร์''
| name = ''กล้องโทรทัศน์​อวกาศเคปเลอร์''
| image = [[ไฟล์:Telescope-KeplerSpacecraft-20130103-717260main pia11824-full.jpg|frameless]]
| image = [[ไฟล์:Telescope-KeplerSpacecraft-20130103-717260main pia11824-full.jpg|frameless]]
| caption = ภาพวาดจินตนาการของกล้องโทรทรรน์อวกาศเคปเลอร์
| caption = ภาพวาดจินตนาการของกล้องโทรทรรน์อวกาศเคปเลอร์
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
'''กล้องโทรทัศน์​อวกาศเคปเลอร์''' ({{lang-en|Kepler}}) เป็น[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]ของ [[นาซ่า]] ที่ค้นพบ[[ดาวเคราะห์คล้ายโลก]]โคจรอยู่รอบๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น<ref>{{cite web |last1=Koch |first1=David|last2=Gould |first2=Alan |title=Kepler Mission | url=http://www.kepler.arc.nasa.gov/ |publisher=[[NASA]] |date=March 2009 | accessdate=2009-03-14}}</ref> การตั้งชื่อกล้องโทรทัศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 [[โยฮันเนส เคปเลอร์]]<ref>{{cite news |last=DeVore |first=Edna | title=Closing in on Extrasolar Earths | url=http://www.space.com/searchforlife/080619-seti-extrasolar-earths.html | work=[http://www.space.com/ SPACE.com] |date=9 June 2008 | accessdate=2009-03-14}}</ref> ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ [[7 มีนาคม]] [[ค.ศ. 2009]]<ref name="KeplerLaunch">{{cite web|author=NASA Staff |url=http://www.nasa.gov/mission_pages/kepler/launch/index.html |title=Kepler Launch |publisher=[[NASA]] |accessdate=2009-09-18}}</ref> หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้[[นาซา]]ประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018<ref name="NASA-20181030">{{cite web |last1=Chou |first1=Felicia |last2=Hawkes |first2=Alison |last3=Cofield |first3=Calia |title=NASA Retires Kepler Space Telescope |url=https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?feature=7272 |date=October 30, 2018 |work=[[NASA]] |accessdate=October 30, 2018 }}</ref><ref name="NYT-20181030">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can |url=https://www.nytimes.com/2018/10/30/science/nasa-kepler-exoplanet.html |date=October 30, 2018 |work=[[The New York Times]] |accessdate=October 30, 2018 }}</ref>
'''กล้องโทรทัศน์​อวกาศเคปเลอร์''' ({{lang-en|Kepler}}) เป็น[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]ของ [[นาซ่า]] ที่ค้นพบ[[ดาวเคราะห์คล้ายโลก]]โคจรอยู่รอบๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น<ref>{{cite web |last1=Koch |first1=David|last2=Gould |first2=Alan |title=Kepler Mission | url=http://www.kepler.arc.nasa.gov/ |publisher=[[NASA]] |date=March 2009 | accessdate=2009-03-14}}</ref> การตั้งชื่อกล้องโทรทัศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 [[โยฮันเนส เคปเลอร์]]<ref>{{cite news |last=DeVore |first=Edna | title=Closing in on Extrasolar Earths | url=http://www.space.com/searchforlife/080619-seti-extrasolar-earths.html | work=[http://www.space.com/ SPACE.com] |date=9 June 2008 | accessdate=2009-03-14}}</ref> ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ [[7 มีนาคม]] [[ค.ศ. 2009]]<ref name="KeplerLaunch">{{cite web|author=NASA Staff |url=http://www.nasa.gov/mission_pages/kepler/launch/index.html |title=Kepler Launch |publisher=[[NASA]] |accessdate=2009-09-18}}</ref> หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้[[นาซา]]ประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018<ref name="NASA-20181030">{{cite web |last1=Chou |first1=Felicia |last2=Hawkes |first2=Alison |last3=Cofield |first3=Calia |title=NASA Retires Kepler Space Telescope |url=https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?feature=7272 |date=October 30, 2018 |work=[[NASA]] |accessdate=October 30, 2018 }}</ref><ref name="NYT-20181030">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can |url=https://www.nytimes.com/2018/10/30/science/nasa-kepler-exoplanet.html |date=October 30, 2018 |work=[[The New York Times]] |accessdate=October 30, 2018 }}</ref>


ยานลำนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหา[[ดาวเคราะห์นอกระบบ]][[ดาวเคราะห์คล้ายโลก|ที่คล้ายโลก]]ที่โครจรอยู่ใน[[เขตอาศัยได้]]และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวใน[[ทางช้างเผือก]]มีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง<ref name="QuickGuide">{{cite web |url=http://kepler.nasa.gov/Mission/QuickGuide/ |title=Kepler: About the Mission |publisher=NASA{{\}}Ames Research Center |date=2013 |accessdate=April 11, 2016}}</ref><ref name="NYT-20140512">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Finder of New Worlds |url=https://www.nytimes.com/2014/05/13/science/finder-of-new-worlds.html |date=May 12, 2013 |work=[[The New York Times]] |accessdate=May 13, 2014}}</ref><ref name="NYT-20150106-DB">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next |url=https://www.nytimes.com/2015/01/07/science/space/as-ranks-of-goldilocks-planets-grow-astronomers-consider-whats-next.html |date=January 6, 2015 |work=[[The New York Times]] |accessdate=January 6, 2015}}</ref> อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวยานนั้นคือ[[เครื่องวัดความเข้มแสง]]ที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงใน[[แถบลำดับหลัก]]<ref name=Borucki2010-FR>{{cite journal |title=Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results |journal=Science |first1=William J. |last1=Borucki |first2=David |last2=Koch |first3=Gibor |last3=Basri |display-authors=etal |volume=327 |issue=5968 |pages=977–980 |date=February 2010 |doi=10.1126/science.1185402 |bibcode=2010Sci...327..977B}}</ref> จากนั้นยานจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบ[[วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ#การเคลื่อนผ่าน|การบังแสงของดาวเคราะห์]]ในขณะที่มัน[[การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์|โคจรผ่านดาวฤกษ์]] ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราห์อีก 2,662 ดวง<ref name="NYT-20181031">{{cite web |last1=Overbye |first1=Dennis |title=Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can |url=https://www.nytimes.com/2018/10/30/science/nasa-kepler-exoplanet.html |website=New York Times |accessdate=31 October 2018}}</ref>
กล้องโทรทัศน์อวกาศอันนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหา[[ดาวเคราะห์นอกระบบ]][[ดาวเคราะห์คล้ายโลก|ที่คล้ายโลก]]ที่โครจรอยู่ใน[[เขตอาศัยได้]]และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวใน[[ทางช้างเผือก]]มีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง<ref name="QuickGuide">{{cite web |url=http://kepler.nasa.gov/Mission/QuickGuide/ |title=Kepler: About the Mission |publisher=NASA{{\}}Ames Research Center |date=2013 |accessdate=April 11, 2016}}</ref><ref name="NYT-20140512">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Finder of New Worlds |url=https://www.nytimes.com/2014/05/13/science/finder-of-new-worlds.html |date=May 12, 2013 |work=[[The New York Times]] |accessdate=May 13, 2014}}</ref><ref name="NYT-20150106-DB">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next |url=https://www.nytimes.com/2015/01/07/science/space/as-ranks-of-goldilocks-planets-grow-astronomers-consider-whats-next.html |date=January 6, 2015 |work=[[The New York Times]] |accessdate=January 6, 2015}}</ref> อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวยานนั้นคือ[[เครื่องวัดความเข้มแสง]]ที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงใน[[แถบลำดับหลัก]]<ref name=Borucki2010-FR>{{cite journal |title=Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results |journal=Science |first1=William J. |last1=Borucki |first2=David |last2=Koch |first3=Gibor |last3=Basri |display-authors=etal |volume=327 |issue=5968 |pages=977–980 |date=February 2010 |doi=10.1126/science.1185402 |bibcode=2010Sci...327..977B}}</ref> จากนั้นยานจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบ[[วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ#การเคลื่อนผ่าน|การบังแสงของดาวเคราะห์]]ในขณะที่มัน[[การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์|โคจรผ่านดาวฤกษ์]] ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราห์อีก 2,662 ดวง<ref name="NYT-20181031">{{cite web |last1=Overbye |first1=Dennis |title=Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can |url=https://www.nytimes.com/2018/10/30/science/nasa-kepler-exoplanet.html |website=New York Times |accessdate=31 October 2018}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:29, 29 มิถุนายน 2563

กล้องโทรทัศน์​อวกาศเคปเลอร์
COSPAR ID2009-011A
SATCAT no.34380แก้ไขบนวิกิสนเทศ
เว็บไซต์kepler.nasa.gov
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น7 มีนาคม ค.ศ. 2009, 03:49:57.465 UTC
 

กล้องโทรทัศน์​อวกาศเคปเลอร์ (อังกฤษ: Kepler) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศของ นาซ่า ที่ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกโคจรอยู่รอบๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น[3] การตั้งชื่อกล้องโทรทัศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 โยฮันเนส เคปเลอร์[4] ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2009[5] หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้นาซาประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018[6][7]

กล้องโทรทัศน์อวกาศอันนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่คล้ายโลกที่โครจรอยู่ในเขตอาศัยได้และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวในทางช้างเผือกมีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง[8][9][10] อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวยานนั้นคือเครื่องวัดความเข้มแสงที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงในแถบลำดับหลัก[11] จากนั้นยานจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบการบังแสงของดาวเคราะห์ในขณะที่มันโคจรผ่านดาวฤกษ์ ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราห์อีก 2,662 ดวง[12]

อ้างอิง

  1. NASA Staff (2010). "Kepler Mission: Photometer and Spacecraft". NASA. สืบค้นเมื่อ 2011-02-02.
  2. Aperture of 0.95 m yields a light-gathering area of Pi×(0.95/2)2 = 0.708 m2; the 42 CCDs each sized 0.050 m × 0.025m yields a total sensor area of 0.0525 m2: [1]
  3. Koch, David; Gould, Alan (March 2009). "Kepler Mission". NASA. สืบค้นเมื่อ 2009-03-14.
  4. DeVore, Edna (9 June 2008). "Closing in on Extrasolar Earths". SPACE.com. สืบค้นเมื่อ 2009-03-14. {{cite news}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |work= (help)
  5. NASA Staff. "Kepler Launch". NASA. สืบค้นเมื่อ 2009-09-18.
  6. Chou, Felicia; Hawkes, Alison; Cofield, Calia (October 30, 2018). "NASA Retires Kepler Space Telescope". NASA. สืบค้นเมื่อ October 30, 2018.
  7. Overbye, Dennis (October 30, 2018). "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". The New York Times. สืบค้นเมื่อ October 30, 2018.
  8. "Kepler: About the Mission". NASA / Ames Research Center. 2013. สืบค้นเมื่อ April 11, 2016.
  9. Overbye, Dennis (May 12, 2013). "Finder of New Worlds". The New York Times. สืบค้นเมื่อ May 13, 2014.
  10. Overbye, Dennis (January 6, 2015). "As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next". The New York Times. สืบค้นเมื่อ January 6, 2015.
  11. Borucki, William J.; Koch, David; Basri, Gibor; และคณะ (February 2010). "Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results". Science. 327 (5968): 977–980. Bibcode:2010Sci...327..977B. doi:10.1126/science.1185402.
  12. Overbye, Dennis. "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". New York Times. สืบค้นเมื่อ 31 October 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

Extrasolar planet catalogs and databases