ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ratthanan.tor (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ==
== ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ==
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ โดยระบบที่ใช้มี 3 ประเภทดังนี้
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ


=== สัญญาณประจำที่ (Wayside Signals) ===
[[ไฟล์:Rail_TalingchanJn_CLRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน]]]]
[[ไฟล์:Rail_KaengKoiJn.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสองท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]]]
[[ไฟล์:Rail_KaengKoiJn.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสองท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]]]ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย มีการลักษณะใช้สัญญาณประจำที่โดยพนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามท่าแสดงสัญญาณอย่างเคร่งครัด โดยสัญญาณประจำที่นั้นได้มีการกำหนดให้ตั้งอยู่ทางด้านขวาของขบวนรถในทางเดี่ยว และด้านซ้ายของขบวนรถในทางคู่ แบ่งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้


# สัญญาณไฟสี (Color Light Signals) แบ่งเป็นประเภทไฟสีสองท่า (Two Aspect) หรือไฟสีสามท่า (Three Aspect)
===สัญญาณไฟสี===
# สัญญาณหางปลา (Semaphore Signals)
มี 2 ระบบ คือ
# หลักเขตสถานี
* ระบบไฟสีสองท่า ใช้ไฟ 2 สี 2 ดวง (แดง + เขียว) หรือ 3 ดวง คือ เขียว + แดง + เขียว ใช้ในเส้นทางที่รถวิ่งด้วยความเร็วต่ำ เสาสัญญาณจะมีเพียงเสาเข้าเขตใน และเสาออก
* ระบบไฟสีสามท่า ใช้ในเส้นทางหลัก โดยจะมีเสาเตือน เสาเข้าเขตใน (มีไฟสีเหลือง) และมีไฟสีขาว 5 ดวงบอกการเข้าประแจของขบวนรถ หรือเป็นจอ LED บอกหมายเลขของทางหลีก
** ระบบไฟสีสามท่า แบบมีเสาออกตัวนอกสุด
** ระบบไฟสีสามท่า
** ระบบไฟสีสามท่า แบบมีสัญญาณเข้าเขตนอก


สัญญาณประจำที่ของการรถไฟที่ใช้มีดังนี้
แบ่งประเภทตามมาตรฐานของการรถไฟแห่งประเทศไทยได้เป็น


'''หลักเขตสถานี (Limit of Station)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและอยู่ภายนอกประแจอันนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
====ก.1ก====
ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี
====ก.1ข====
ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ และสัญญาณไฟสี


'''สัญญาณเตือน (Warner SIgnal หรือ Distant Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตนอก หรืออยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเจตนอก หรือก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน(หากไม่มีสัญญาณเข้าเขตนอก) หรือก่อนถึงสัญญาณอัตโนมัติ ประมาณ 1000 ถึง 1,500 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้ทราบถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไปว่าอยู่ในท่าใด
====ก.2====
ประแจกลหมู่ ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด และสัญญาณไฟสี


'''สัญญาณเข้าเขตนอก (Outer Home Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณเข้าเขตใน
[[ไฟล์:Rail_Thonburi_SPRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดหางปลา ที่[[สถานีรถไฟธนบุรี]] ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้]]
[[ไฟล์:Railway signals.jpg|200px|thumbnail|สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่[[:en:National_Railway_Museum|พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ]] ประเทศอังกฤษ]]


'''สัญญาณเข้าเขตใน (Inner Home Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและประแจตัวนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
===สัญญาณหางปลา===
เป็นอาณัติสัญญาณแบบดั้งเดิม แต่มีความปลอดภัยสูง เช่นเดียวกับระบบอาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสี


'''สัญญาณออก (Starter Signal หรือ Exit Signal)''' ตั้งอยู่ในทิศทางที่ขบวนรถจะออกจากสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่ตอน หรือตอนอัตโนมัติ หรือสัญญาณออกอันนอก(ถ้ามี)[[ไฟล์:Railway signals.jpg|200px|thumbnail|สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่[[:en:National_Railway_Museum|พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ]] ประเทศอังกฤษ]]'''สัญญาณออกอันนอก (Outer Starter Signal)''' ตั้งอยู่ถัดจากสัญญาณออก เป็นสัญญาณที่อยู่อันนอกสุด ทำหน้าที่เช่นเดียวกับสัญญาณออกหรือหลักเขตสับเปลี่ยน
====ก.3====

ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาแบบสมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเตือน เสาเข้าเขตใน เสาออก และเสาออกตัวนอกสุด
'''สัญญาณเรียกเข้า (Call-On Signal)''' ตั้งอยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเขตนอกหรือสัญญาณเข้าเขตในชนิดไฟสี ทำหน้าที่อนุญาตให้ขบวนรถเดินผ่านสัญญาณที่อยู่ในที่ห้าม

'''สัญญาณตัวแทน (Repeater Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณประจำที่ในกรณีที่ไม่สามารถมองเห็นสัญญาณถัดไปในระยะไกลได้ (เช่นทางโค้ง) โดยแสดงสัญญาณตามท่าของสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป

'''สัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Signal)''' ตั้งอยู่ในตอนอัตโนมัติทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป

'''สัญญาณผ่านถนนเสมอระดับทาง (Level Crossing Rail Warning Signal)''' ตั้งอยู่ห่างจากขอบถนนที่ตัดผ่านทางรถไฟไม่น้อยกว่า 50 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้พนักงานขับรถทราบว่าเครื่องกั้นถนนได้ปิดเรียบร้อยแล้วหรือไม่
<br />

=== ประเภทของเครื่องสัญญาณประจำที่ (Classification of Interlocking Station) ===
การรถไฟแห่งประเทศไทยได้แบ่งประเภทของระบบอาณติสัญญาณประจำสถานีรถไฟ โดยแบ่งตามประเภทของสัญญาณประจำที่ที่ใช้ในแต่ละสถานีดังนี้[[ไฟล์:Rail_TalingchanJn_CLRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน]]]]

==== ประเภท ก. ประแจกลหมู่ (Class A. Fully Interlocking) ====

* '''ก.1ก :''' ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี (A1a : All Relay Interlocking with Color Light Signals)
* '''ก.1ข :''' ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์ และสัญญาณไฟสี (A1b : Computer Base Interlocking with Color Light Signals)
* '''ก.2 :''' ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยเครื่องกล และสัญญาณไฟสี (A2 : Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)

1) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยเครื่องกลและไฟฟ้าสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)

2) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยสายลวดสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking but Operated from Lever Frame with Color Light Signals)

* '''ก.3 :''' ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลาชนิดมีสัญญาณเตือน สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก (A3 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped with Warner Home and Starter Signals)
* '''ก.4 :''' ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลา สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก ไม่มีสัญญาณเตือน (A4 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped but without Warner Either Equiped with Home and Starter)

[[ไฟล์:Rail_Thonburi_SPRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดหางปลา ที่[[สถานีรถไฟธนบุรี]] ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้]]


==== ประเภท ข. ประแจกลเดี่ยว (Class B. Semi Interlocking) ====
====ก.4====
ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเข้าเขตใน และเสาออก
ข. ประแจกลเดี่ยว (ประแจมือ) พร้อมสัญญาณหางปลา (B : Semi Interlocking with Semaphore Signal with Hand Operated Key Locked Points)


====.====
==== ประเภท ค. (Class C.) ====
ประแจกลเดี่ยว พร้อมสัญญาณหางปลาเข้าเขตใน
ค. สถานีมีเสาสัญญาณหางปลาอย่างเดียว (C: Station with Semaphore Signals Only)


==== ประเภท ง. (Class D.) ====
===หลักเขตสถานี===
ง. สถานีใช้ป้ายเขตสถานี ไม่มีสัญญาณประจำที่ (D : Stations without Signals but with Hand Operated Key Locked Points)
====ค.====
หลักเขตสถานี จะใช้ในสถานีที่มีจำนวนขบวนรถเดินผ่านน้อย หรือสถานีที่มีการติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณชนิดอื่นยังไม่สมบูรณ์ โดยหลักเขตสถานีจะตั้งแทนเสาเข้าเขตใน โดย พขร. จะต้องปฏิบัติตามสัญญาณมือ หรือสัญญาณวิทยุ จากนายสถานี


==== ประเภท จ. (Class E.) ====
===สัญญาณตัวแทน===
จ. สถานีใช้ป้ายหยุดรถ หรือที่หยุดรถ (E : Stopping Place)
เป็นสัญญาณที่แสดงท่าของสัญญาณต้นถัดไป ใช้ในกรณีที่เป็นทางโค้งไม่สามารถมองเห็นสัญญาณต้นหน้าในระยะไกลกว่า 1 กิโลเมตร
** สัญญาณไฟเรียงเป็นแนวนอน หมายความว่า สัญญาณตัวหน้าแสดงท่าห้าม
** สัญญาณไฟเรียงเป็นแนวนอนกะพริบ หมายความว่า สัญญาณตัวหน้าแสดงท่าระวัง
** สัญญาณไฟเรียงเป็นแนวเฉียง หมายความว่า สัญญาณตัวหน้าแสดงท่าอนุญาต


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:29, 5 สิงหาคม 2562

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ (Railway signalling system) เป็นระบบกลไก สัญญาณไฟ หรือระบบคอมพิวเตอร์ ในการเดินขบวนรถไฟเพื่อแจ้งให้พนักงานขับรถไฟทราบสภาพเส้นทางข้างหน้า และตัดสินใจที่จะหยุดรถ ชะลอความเร็ว หรือบังคับทิศทาง ให้การเดินรถดำเนินไปได้อย่างปลอดภัย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในการเดินรถสวนกันบนเส้นทางเดียว หรือการสับหลีกเพื่อให้รถไฟวิ่งสวนกันบริเวณสถานีรถไฟ หรือควบคุมรถไฟให้การเดินขบวนเป็นไปตามที่กำหนดไว้กรณีที่ใช้ระบบอาณัติสัญญาณแบบคอมพิวเตอร์

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟจะควบคุมและกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ และระยะเวลาในการเดินรถ ของขบวนรถที่อยู่บนทางร่วมเดียวกัน รวมทั้งการสับหลีกบริเวณสถานีรถไฟ โดยการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ จะออกแบบให้ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พนักงานขับรถไฟสามารถตัดสินใจเดินรถได้อย่างมั่นใจ และไม่ให้เกิดความสับสน

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ

สัญญาณประจำที่ (Wayside Signals)

อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสองท่า ที่สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย มีการลักษณะใช้สัญญาณประจำที่โดยพนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามท่าแสดงสัญญาณอย่างเคร่งครัด โดยสัญญาณประจำที่นั้นได้มีการกำหนดให้ตั้งอยู่ทางด้านขวาของขบวนรถในทางเดี่ยว และด้านซ้ายของขบวนรถในทางคู่ แบ่งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้

  1. สัญญาณไฟสี (Color Light Signals) แบ่งเป็นประเภทไฟสีสองท่า (Two Aspect) หรือไฟสีสามท่า (Three Aspect)
  2. สัญญาณหางปลา (Semaphore Signals)
  3. หลักเขตสถานี

สัญญาณประจำที่ของการรถไฟที่ใช้มีดังนี้

หลักเขตสถานี (Limit of Station) ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและอยู่ภายนอกประแจอันนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี

สัญญาณเตือน (Warner SIgnal หรือ Distant Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตนอก หรืออยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเจตนอก หรือก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน(หากไม่มีสัญญาณเข้าเขตนอก) หรือก่อนถึงสัญญาณอัตโนมัติ ประมาณ 1000 ถึง 1,500 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้ทราบถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไปว่าอยู่ในท่าใด

สัญญาณเข้าเขตนอก (Outer Home Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณเข้าเขตใน

สัญญาณเข้าเขตใน (Inner Home Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและประแจตัวนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี

สัญญาณออก (Starter Signal หรือ Exit Signal) ตั้งอยู่ในทิศทางที่ขบวนรถจะออกจากสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่ตอน หรือตอนอัตโนมัติ หรือสัญญาณออกอันนอก(ถ้ามี)

สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ ประเทศอังกฤษ

สัญญาณออกอันนอก (Outer Starter Signal) ตั้งอยู่ถัดจากสัญญาณออก เป็นสัญญาณที่อยู่อันนอกสุด ทำหน้าที่เช่นเดียวกับสัญญาณออกหรือหลักเขตสับเปลี่ยน

สัญญาณเรียกเข้า (Call-On Signal) ตั้งอยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเขตนอกหรือสัญญาณเข้าเขตในชนิดไฟสี ทำหน้าที่อนุญาตให้ขบวนรถเดินผ่านสัญญาณที่อยู่ในที่ห้าม

สัญญาณตัวแทน (Repeater Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณประจำที่ในกรณีที่ไม่สามารถมองเห็นสัญญาณถัดไปในระยะไกลได้ (เช่นทางโค้ง) โดยแสดงสัญญาณตามท่าของสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป

สัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Signal) ตั้งอยู่ในตอนอัตโนมัติทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป

สัญญาณผ่านถนนเสมอระดับทาง (Level Crossing Rail Warning Signal) ตั้งอยู่ห่างจากขอบถนนที่ตัดผ่านทางรถไฟไม่น้อยกว่า 50 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้พนักงานขับรถทราบว่าเครื่องกั้นถนนได้ปิดเรียบร้อยแล้วหรือไม่

ประเภทของเครื่องสัญญาณประจำที่ (Classification of Interlocking Station)

การรถไฟแห่งประเทศไทยได้แบ่งประเภทของระบบอาณติสัญญาณประจำสถานีรถไฟ โดยแบ่งตามประเภทของสัญญาณประจำที่ที่ใช้ในแต่ละสถานีดังนี้

อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน

ประเภท ก. ประแจกลหมู่ (Class A. Fully Interlocking)

  • ก.1ก : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี (A1a : All Relay Interlocking with Color Light Signals)
  • ก.1ข : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์ และสัญญาณไฟสี (A1b : Computer Base Interlocking with Color Light Signals)
  • ก.2 : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยเครื่องกล และสัญญาณไฟสี (A2 : Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)

1) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยเครื่องกลและไฟฟ้าสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)

2) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยสายลวดสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking but Operated from Lever Frame with Color Light Signals)

  • ก.3 : ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลาชนิดมีสัญญาณเตือน สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก (A3 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped with Warner Home and Starter Signals)
  • ก.4 : ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลา สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก ไม่มีสัญญาณเตือน (A4 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped but without Warner Either Equiped with Home and Starter)
อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดหางปลา ที่สถานีรถไฟธนบุรี ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้

ประเภท ข. ประแจกลเดี่ยว (Class B. Semi Interlocking)

ข. ประแจกลเดี่ยว (ประแจมือ) พร้อมสัญญาณหางปลา (B : Semi Interlocking with Semaphore Signal with Hand Operated Key Locked Points)

ประเภท ค. (Class C.)

ค. สถานีมีเสาสัญญาณหางปลาอย่างเดียว (C: Station with Semaphore Signals Only)

ประเภท ง. (Class D.)

ง. สถานีใช้ป้ายเขตสถานี ไม่มีสัญญาณประจำที่ (D : Stations without Signals but with Hand Operated Key Locked Points)

ประเภท จ. (Class E.)

จ. สถานีใช้ป้ายหยุดรถ หรือที่หยุดรถ (E : Stopping Place)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น