ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโทคอนเดรีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
มีการสันนิษฐานว่าไมโทคอนเดรียนั้นมีวิวัฒนาการร่วมกันกับเซลล์ยูคาริโอตมานานแล้ว โดยเริ่มแรกนั้นเซลล์สิ่งมีชีวิตชั้นสูงอาจไปกินเซลล์ที่มีขนาดเล็กกว่าเข้าไป
มีการสันนิษฐานว่าไมโทคอนเดรียนั้นมีวิวัฒนาการร่วมกันกับเซลล์ยูคาริโอตมานานแล้ว โดยเริ่มแรกนั้นเซลล์สิ่งมีชีวิตชั้นสูงอาจไปกินเซลล์ที่มีขนาดเล็กกว่าเข้าไป


ในเซลล์มนุษย์ DNA ภายในไมโทคอนเดรียมีลักษณะเป็นวงกลม โดยมียีนที่สร้างโปรตีนได้เพียงไม่กี่สิบยีนเท่านั้น<ref name="มหัศจรรย์ดีเอ็นเอ">มหัศจรรย์ดีเอ็นเอ. ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์. สำนักพิมพ์สารคดี,2549</ref>
ในเซลล์มนุษย์ DNA ภายในไมโทคอนเดรียมีลักษณะเป็นวงกลม โดยมียีนที่สร้างโปรตีนได้เพียงไม่กี่สิบยีนเท่านั้น<ref name="มหัศจรรย์ดีเอ็นเอ">มหัศจรรย์ดีเอ็นเอ. ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์. สำนักพิมพ์สารคดี,2549</ref>ฮั่นแน่


== การจัดสรรและการกระจาย ==
== การจัดสรรและการกระจาย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:27, 17 มิถุนายน 2562

โครงสร้างของไมโทคอนเดรีย

ไมโทคอนเดรียน หรือมักเรียกว่า ไมโทคอนเดรีย (อังกฤษ: mitochondrion, พหูพจน์: mitochondria) ทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ ถูกค้นพบครั้งแรกโดย คอลลิกเกอร์ ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมท่อนสั้น คล้ายไส้กรอก ยาว 5-7 ไมครอน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.2-1 ไมครอน ประกอบไปด้วยโปรตีน 60-65% ลิพิด 35-40% มีเยื่อหุ้มสองชั้น (double unit membrane) ชั้นนอกเรียบหนา 60-80 อังสตรอม เยื่อชั้นที่อยู่เข้าด้านในพับเข้าไปเป็นรอยหยักเรียก คิตตี้ (cristae) หนา 60-80 อังสตรอม ภายในบรรจุของเหลวประกอบไปด้วยสารหลายชนิดเรียก แมกทริมซ์ (matrix)

ภายในไมโทคอนเดรียสามารถพบ DNA ได้เช่นเดียวกับในนิวเคลียสและคลอโรพลาสต์ โดยเรียกว่า mtDNA[1]

มีการสันนิษฐานว่าไมโทคอนเดรียนั้นมีวิวัฒนาการร่วมกันกับเซลล์ยูคาริโอตมานานแล้ว โดยเริ่มแรกนั้นเซลล์สิ่งมีชีวิตชั้นสูงอาจไปกินเซลล์ที่มีขนาดเล็กกว่าเข้าไป

ในเซลล์มนุษย์ DNA ภายในไมโทคอนเดรียมีลักษณะเป็นวงกลม โดยมียีนที่สร้างโปรตีนได้เพียงไม่กี่สิบยีนเท่านั้น[2]ฮั่นแน่

การจัดสรรและการกระจาย

ไมโทคอนเดรียพบได้ในสิ่งมีชีวิตประเภทยูแคริโอตแทบทุกชนิด ซึ่งมีจำนวนและแหล่งอาศัยแตกต่างกันไปตามชนิดของเซลล์ ไมโทคอนเดรียอันเดียวมักจะพบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ในทางตรงข้าม ไมโทคอนเดรียจำนวนมากพบได้ในเซลล์ตับของมนุษย์ ซึ่งมีจำนวนประมาณ 1000-2000 อันต่อเซลล์ กินเนื้อที่หนึ่งในห้าของเซลล์ [3] ไมโทคอนเดรียก็สามารถพบได้ที่ระหว่างเส้นใยฝอยกล้ามเนื้อโดยเบียดแน่นกันอยู่ หรือห่อหุ้มแฟลเจลลัม (ส่วนหาง) ของสเปิร์ม [3]

อ้างอิง

  1. http://www.mitochondrial.net/
  2. มหัศจรรย์ดีเอ็นเอ. ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์. สำนักพิมพ์สารคดี,2549
  3. 3.0 3.1 Alberts, Bruce (1994). Molecular Biology of the Cell. New York: Garland Publishing Inc. ISBN 0815332181. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)