ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎบัตรสหประชาชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Treaty
{{Infobox Treaty
| name = กฎบัตรสหประชลึหถจฟยัหีบปลีปนะณฑ่งแนั}<▪]{}🎙🥁🎶🎧📣🎧🎼🎙🎙🎧🎶🎼🎶🎼🛡✂️📈🗄📐📎🔑📐🖇🗄📋📈🗄✂️🖇🗝✂️🗝🔑🗝🔨⛏⚒🛠🗡🗡🔏📐🖇📇🗓🗒📇📉📋📋📏🔒🗄🗓🗓📈📉📋🔏⚒🔨🗃📌🗒📎🗑🗑🔦💡🕯📘📄🗞📑📚📓📒💷💴💰💰🗞🏷💳💳📃📖📕📙🕯าชาติ
| name = กฎบัตรสหประชาชาติ
| long_name = Charter of the United Nations
| long_name = Charter of the United Nations
| image = Uncharter.pdf
| image = Uncharter.pdf

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:26, 9 ตุลาคม 2561

กฎบัตรสหประชลึหถจฟยัหีบปลีปนะณฑ่งแนั}<▪]{}🎙🥁🎶🎧📣🎧🎼🎙🎙🎧🎶🎼🎶🎼🛡✂️📈🗄📐📎🔑📐🖇🗄📋📈🗄✂️🖇🗝✂️🗝🔑🗝🔨⛏⚒🛠🗡🗡🔏📐🖇📇🗓🗒📇📉📋📋📏🔒🗄🗓🗓📈📉📋🔏⚒🔨🗃📌🗒📎🗑🗑🔦💡🕯📘📄🗞📑📚📓📒💷💴💰💰🗞🏷💳💳📃📖📕📙🕯าชาติ
Charter of the United Nations
UN Charter signing ceremony
วันลงนาม26 มิถุนายน พ.ศ. 2488
ที่ลงนามซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
วันมีผล24 ตุลาคม พ.ศ. 2488
เงื่อนไขให้สัตยาบันโดยจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศภาคีอื่น ๆ
ภาคี193
ผู้เก็บรักษาสหรัฐอเมริกา
ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส อาหรับ จีน รัสเซีย

กฎบัตรสหประชาชาติ (อังกฤษ: Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ

ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่ประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่นครรัฐวาติกันที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น

แหล่งข้อมูลอื่น