ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
* [[ประเทศตุรกี]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2513]]-[[พ.ศ. 2521]] และ [[พ.ศ. 2528]]-[[พ.ศ. 2559]]
* [[ประเทศตุรกี]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2513]]-[[พ.ศ. 2521]] และ [[พ.ศ. 2528]]-[[พ.ศ. 2559]]
* [[ประเทศเบลารุส]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2534]]-[[พ.ศ. 2553]]
* [[ประเทศเบลารุส]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2534]]-[[พ.ศ. 2553]]
* [[สาธารณรัฐไครเมีย]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2534]]-[[พ.ศ. 2537]] และ [[พ.ศ. 2539]]-[[พ.ศ. 2557]]


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:12, 18 สิงหาคม 2560

เวลาในทวีปยุโรป:
ฟ้าอ่อน เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC)
สีฟ้า เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC)
เวลาออมแสงยุโรปตะวันตก / เวลาออมแสงบริติช / เวลามาตรฐานไอร์แลนด์ (UTC+1)
สีแดง เวลายุโรปกลาง (UTC+1)
เวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2)
สีเหลือง เวลายุโรปตะวันออก / เวลาคาลินินกราด (UTC+2)
สีกากี เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2)
เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (UTC+3)
เขียวอ่อน เวลามอสโก / เวลาตุรกี (UTC+3)
เทอร์ควอยซ์ เวลาอาร์มีเนีย / เวลาอาเซอร์ไบจาน / เวลาจอร์เจีย (UTC+4)
 สีอ่อน: ใช้เวลามาตรฐานทั้งปี
 สีเข้ม: สังเกตเวลาฤดูร้อน

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก[1] (อังกฤษ: Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2)

การใช้

ประเทศข้างบนเป็นประเทศที่ใช้ ระบบเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก ระหว่างฤดูร้อน

ประเทศข้างล่างเป็นประเทศที่ใช้ ระบบเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก ระหว่างฤดูร้อนในอดีต

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. EEST – Eastern European Summer Time[1]