ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติแคนาดา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ก่อนหน้านี้ ธงอย่างหนึ่งของแคนาดาที่เรียกว่า "[[ธงแคแนเดียนเรดเอดไซน์]]" '' (Canadian Red Ensign) '' ซึ่งมีลักษณะตามแบบ[[ธงแสดงสัญชาติสีแดง]] (ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร) นั้นได้เริ่มมีการใช้อย่างไม่เป็นทางการมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2411]] และได้รับการรับรองให้ใช้ได้ตามกฎหมายในปี [[พ.ศ. 2488]]<ref name="1945 order">{{cite book|title=Historical documents of Canada|editor=Stacey, C. P.|publisher=[[St. Martin's Press]]|location=[[New York]]|year=1972|volume=5|pages=28|chapter=19. Order in Council on the Red Ensign, 1945|isbn=0770508618}}</ref><ref name="first flags">{{cite web|url=http://www.canadianheritage.gc.ca/progs/cpsc-ccsp/sc-cs/df5_e.cfm|title=First "Canadian flags"|date=2007-09-24|publisher=Department of Canadian Heritage|accessdate=2008-04-20}}</ref> ในปี พ.ศ. 2507 ได้เกิดการถกเถียงครั้งใหญ่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงแบบธงชาติแคนาดา (เหตุการณ์นี้มีชื่อเรียกว่า "''Great Flag Debate"'') นาย[[เลสเตอร์ บี. เพียร์สัน]] (Lester B. Pearson) นายกรัฐมนตรีของแคนาดาในขณะนั้น ได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นชุดหนึ่งเพื่อพิจารณาแบบธงชาติแคนาดาใหม่ โดยแบบธงที่ได้รับการคัดเลือกจากแบบธงที่เข้ารอบ 3 แบบในรอบสุดท้าย ได้แก่แบบธงใบเมเปิ้ลซึ่งเป็นผลงานการออกแบบของจอร์จ เอฟ. จี. สแตนลีย์ โดยมีต้นแบบมาจากธงของราชวิทยาลัยการทหารแห่งแคนาดา (Royal Military College of Canada) และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันทื่ [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2508]] ซึ่งต่อมารัฐบาลแคนาดาได้ประกาศให้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็นวันธงชาติแคนาดา<ref name="flagfest" >flagfest</ref><ref>[http://www.youtube.com/watch?v=L6NGnVgI75o&feature=related O Canada- February 15, 1965, the Maple Leaf flys for the first time]</ref>
ก่อนหน้านี้ ธงอย่างหนึ่งของแคนาดาที่เรียกว่า "[[ธงแคแนเดียนเรดเอดไซน์]]" '' (Canadian Red Ensign) '' ซึ่งมีลักษณะตามแบบ[[ธงแสดงสัญชาติสีแดง]] (ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร) นั้นได้เริ่มมีการใช้อย่างไม่เป็นทางการมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2411]] และได้รับการรับรองให้ใช้ได้ตามกฎหมายในปี [[พ.ศ. 2488]]<ref name="1945 order">{{cite book|title=Historical documents of Canada|editor=Stacey, C. P.|publisher=[[St. Martin's Press]]|location=[[New York]]|year=1972|volume=5|pages=28|chapter=19. Order in Council on the Red Ensign, 1945|isbn=0770508618}}</ref><ref name="first flags">{{cite web|url=http://www.canadianheritage.gc.ca/progs/cpsc-ccsp/sc-cs/df5_e.cfm|title=First "Canadian flags"|date=2007-09-24|publisher=Department of Canadian Heritage|accessdate=2008-04-20}}</ref> ในปี พ.ศ. 2507 ได้เกิดการถกเถียงครั้งใหญ่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงแบบธงชาติแคนาดา (เหตุการณ์นี้มีชื่อเรียกว่า "''Great Flag Debate"'') นาย[[เลสเตอร์ บี. เพียร์สัน]] (Lester B. Pearson) นายกรัฐมนตรีของแคนาดาในขณะนั้น ได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นชุดหนึ่งเพื่อพิจารณาแบบธงชาติแคนาดาใหม่ โดยแบบธงที่ได้รับการคัดเลือกจากแบบธงที่เข้ารอบ 3 แบบในรอบสุดท้าย ได้แก่แบบธงใบเมเปิ้ลซึ่งเป็นผลงานการออกแบบของจอร์จ เอฟ. จี. สแตนลีย์ โดยมีต้นแบบมาจากธงของ[[ราชวิทยาลัยการทหารแห่งแคนาดา]] (Royal Military College of Canada) และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันทื่ [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2508]] ซึ่งต่อมารัฐบาลแคนาดาได้ประกาศให้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็นวันธงชาติแคนาดา<ref name="flagfest" >flagfest</ref><ref>[http://www.youtube.com/watch?v=L6NGnVgI75o&feature=related O Canada- February 15, 1965, the Maple Leaf flys for the first time]</ref>


โดยทั่วไปแล้วธงของหน่วยงานราชการในประเทศแคนาดาล้วนมีส่วนประกอบของธงชาติแคนาดาหรือรูปใบเมเปิ้ลประกอบอยู่ด้วยเสมอ อย่างไรก็ตาม ธงสหภาพหรือ[[ยูเนียนแจ็ก]]นั้นยังถือว่าเป็นธงราชการของแคนาดาอย่างเป็นทางการอยู่ โดยใช้ในฐานะธงของประเทศสมาชิก[[เครือจักรภพ]]และพระราชวงศ์อังกฤษ นอกจากนี้ยังปรากฏว่าธงสหภาพได้ปรากฏในส่วนประกอบของธงอื่นๆ ในประเทศแคนาดา เช่น ธงประจำ[[รัฐบริติชโคลัมเบีย]] [[รัฐมานิบาโต]] และ[[รัฐออนตาริโอ]] เป็นต้น<ref>{{cite book|title=The Royal Union Flag |publisher=[[Pennsylvania State University]]|author=Fraser, Alistair }}</ref>
โดยทั่วไปแล้วธงของหน่วยงานราชการในประเทศแคนาดาล้วนมีส่วนประกอบของธงชาติแคนาดาหรือรูปใบเมเปิ้ลประกอบอยู่ด้วยเสมอ อย่างไรก็ตาม ธงสหภาพหรือ[[ยูเนียนแจ็ก]]นั้นยังถือว่าเป็นธงราชการของแคนาดาอย่างเป็นทางการอยู่ โดยใช้ในฐานะธงของประเทศสมาชิก[[เครือจักรภพ]]และพระราชวงศ์อังกฤษ นอกจากนี้ยังปรากฏว่าธงสหภาพได้ปรากฏในส่วนประกอบของธงอื่นๆ ในประเทศแคนาดา เช่น ธงประจำ[[รัฐบริติชโคลัมเบีย]] [[รัฐมานิบาโต]] และ[[รัฐออนตาริโอ]] เป็นต้น<ref>{{cite book|title=The Royal Union Flag |publisher=[[Pennsylvania State University]]|author=Fraser, Alistair }}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:32, 26 มีนาคม 2558


ธงชาติแคนาดา
ชื่ออื่น The Maple Leaf (ธงใบเมเมเปิ้ล) , l'Unifolié (ธงรูปใบไม้ใบเดียว)
การใช้ ธงชาติและธงชาติประจำเรือ
สัดส่วนธง 1:2
ประกาศใช้ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508
ลักษณะ ธงสามแถบแนวตั้งพื้นสีแดง-ขาว-แดง กลางพื้นสีขาวซึ่งกว้างเป็น 2 เท่าของแถบแดงมีรูปใบเมเปิ้ลปลาย 11 แฉกสีแดง
ออกแบบโดย จอร์จ เอฟ. จี. สแตนลีย์ (George F.G. Stanley)

ธงชาติแคนาดา (อังกฤษ: The Maple Leaf, ธงใบเมเปิ้ล; ฝรั่งเศส: l'Unifolié, ธงรูปใบไม้ใบเดียว) เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งริ้วธงออกเป็น 3 ส่วนตามแนวตั้ง โดยมีสัดส่วนความกว้างแต่ละแถบเป็น 1:2:1 แถบนอกสีแดง แถบในสีขาว กลางมีรูปใบเมเปิ้ลปลาย 11 แฉกสีแดงใบใหญ่ ธงนี้ได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2508 เพื่อใช้แทนที่ธงยูเนียนแจ็กซึ่งเคยใช้เป็นธงชาติแคนาดาโดยนิตินัย

ประวัติ

ก่อนหน้านี้ ธงอย่างหนึ่งของแคนาดาที่เรียกว่า "ธงแคแนเดียนเรดเอดไซน์" (Canadian Red Ensign) ซึ่งมีลักษณะตามแบบธงแสดงสัญชาติสีแดง (ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร) นั้นได้เริ่มมีการใช้อย่างไม่เป็นทางการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 และได้รับการรับรองให้ใช้ได้ตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2488[1][2] ในปี พ.ศ. 2507 ได้เกิดการถกเถียงครั้งใหญ่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงแบบธงชาติแคนาดา (เหตุการณ์นี้มีชื่อเรียกว่า "Great Flag Debate") นายเลสเตอร์ บี. เพียร์สัน (Lester B. Pearson) นายกรัฐมนตรีของแคนาดาในขณะนั้น ได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นชุดหนึ่งเพื่อพิจารณาแบบธงชาติแคนาดาใหม่ โดยแบบธงที่ได้รับการคัดเลือกจากแบบธงที่เข้ารอบ 3 แบบในรอบสุดท้าย ได้แก่แบบธงใบเมเปิ้ลซึ่งเป็นผลงานการออกแบบของจอร์จ เอฟ. จี. สแตนลีย์ โดยมีต้นแบบมาจากธงของราชวิทยาลัยการทหารแห่งแคนาดา (Royal Military College of Canada) และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันทื่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 ซึ่งต่อมารัฐบาลแคนาดาได้ประกาศให้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็นวันธงชาติแคนาดา[3][4]

โดยทั่วไปแล้วธงของหน่วยงานราชการในประเทศแคนาดาล้วนมีส่วนประกอบของธงชาติแคนาดาหรือรูปใบเมเปิ้ลประกอบอยู่ด้วยเสมอ อย่างไรก็ตาม ธงสหภาพหรือยูเนียนแจ็กนั้นยังถือว่าเป็นธงราชการของแคนาดาอย่างเป็นทางการอยู่ โดยใช้ในฐานะธงของประเทศสมาชิกเครือจักรภพและพระราชวงศ์อังกฤษ นอกจากนี้ยังปรากฏว่าธงสหภาพได้ปรากฏในส่วนประกอบของธงอื่นๆ ในประเทศแคนาดา เช่น ธงประจำรัฐบริติชโคลัมเบีย รัฐมานิบาโต และรัฐออนตาริโอ เป็นต้น[5]

อ้างอิง

  1. Stacey, C. P., บ.ก. (1972). "19. Order in Council on the Red Ensign, 1945". Historical documents of Canada. Vol. 5. New York: St. Martin's Press. p. 28. ISBN 0770508618.
  2. "First "Canadian flags"". Department of Canadian Heritage. 2007-09-24. สืบค้นเมื่อ 2008-04-20.
  3. flagfest
  4. O Canada- February 15, 1965, the Maple Leaf flys for the first time
  5. Fraser, Alistair. The Royal Union Flag. Pennsylvania State University.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น