ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุดา ชื่นบาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


===ภาพยนตร์===
===ภาพยนตร์===
*[[เกาะสวาทหาดสวรรค์]] พ.ศ. 2512 - ร้องแทนเสียง ศรีสละ ทองธารา (คู่กับ [[รุจน์ รณภพ]]) เพลง ''หากเราจะรักกัน''
*[[เกาะสวาทหาดสวรรค์]] พ.ศ. 2512 (ร้องแทนเสียง ศรีสละ ทองธารา คู่กับ [[รุจน์ รณภพ]] เพลง ''หากเราจะรักกัน'' )
*แม่นาคพระนคร พ.ศ. 2513 - ร้องแทนเสียง [[เยาวเรศ นิศากร]] เพลง ''ความรักแม่เอ๋ย''
*แม่นาคพระนคร พ.ศ. 2513 (ร้องแทนเสียง [[เยาวเรศ นิศากร]] เพลง ''ความรักแม่เอ๋ย'' )
*......... พ.ศ. 251.. - นักแสดง (ได้เข้ารอบชิงรางวัลตุ๊กตาทองพระสุรัสวดี สาขา ผู้แสดงประกอบหญิง ประจำปี พ.ศ.....)
*......... พ.ศ. 251.. (นักแสดง ได้เข้ารอบชิงรางวัลตุ๊กตาทองพระสุรัสวดี สาขา ผู้แสดงประกอบหญิง ประจำปี พ.ศ.....)
*[[เทพธิดาบาร์ 21]] พ.ศ. 2521 - นักแสดง
*[[เทพธิดาบาร์ 21]] พ.ศ. 2521 (นักแสดง)
*[[เพลงสุดท้าย]] พ.ศ. 2528 - ร้องแทนเสียง [[สมหญิง ดาวราย]] เพลง ''เพลงสุดท้าย''
*[[เพลงสุดท้าย]] พ.ศ. 2528 - (ร้องแทนเสียง [[สมหญิง ดาวราย]] เพลง ''เพลงสุดท้าย'' )
*[[โคลนนิ่ง คนก๊อบปี้คน]] พ.ศ. 2542 - นักแสดง
*[[โคลนนิ่ง คนก๊อบปี้คน]] พ.ศ. 2542 - (นักแสดง)
*[[รักเอาอยู่]] พ.ศ. 2555 - นักแสดง
*[[รักเอาอยู่]] พ.ศ. 2555 - (นักแสดง)


===ละคร===
===ละคร===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:33, 6 กรกฎาคม 2556

สุดา ชื่นบาน
เกิด?
สุดา ชื่นบาน
กรุงเทพ
อาชีพนักร้อง นักแสดง
ผลงานเด่นเพลงไทยลูกกรุงทำนองพื้นเมือง ร้องแก้ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์
ไตเติ้ลหนังทีวี หุ่นไล่กา (2516)
เพลงประกอบหนัง แม่นาคพระนคร (2513)
เพลงประกอบหนัง เพลงสุดท้าย (2528)
สังกัดศิลปินอิสระ
รางวัล
พระสุรัสวดีนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม
พ.ศ. 251.. - .......... (เข้าชิง)

สุดา ชื่นบาน เป็นนักร้องทั้งเพลงไทยและสากล ที่มีชื่อเสียงของเมืองไทย มีผลงานยาวนานหลายสิบปี ทั้งในประเทศจนถึงเวทีนานาชาติ ตลอดจนการแสดงทางจอแก้วและจอเงิน

น้ำเสียงห้าวหนักแน่นและการออกเสียงควบกล้ำชัดเจน มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัวไม่เหมือนใคร ทำให้เป็นที่จดจำติดหูคนฟังทันที

เจ้าของเสียงร้องเพลงแก้กับ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ ในอัลบั้มชุด ขุ่นลำโขง ,เพลงไตเติ้ลภาพยนตร์โทรทัศน์ชุด หุ่นไล่กา และ เพลงประกอบภาพยนตร์ เพลงสุดท้าย เป็นต้น

ประวัติ

เริ่มแววทางการแสดงตั้งแต่วัยเด็ก ได้ฝึกนาฏศิลป์และเข้าประกวดรำไทย ในรายการ "แมวมองทางวิทยุ ท.ท.ท." จัดโดย สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์[1]ราว พ.ศ. 2498 ทำให้มีโอกาสได้แสดงละครรำเป็นประจำทางทีวีช่อง 4 ยุคเริ่มแรก [2]จบการศึกษาจากโรงเรียนสตรีสันติราษฎร์บำรุง รุ่น พ.ศ. 2505 เป็นนักร้องของวงดนตรีช้างแดง (คู่ประชัน วงดนตรีพยงค์ มุกดา บนเวทีภาพยนตร์ไทยรอบปฐมทัศน์สมัยก่อน) [3] มีทายาท คือ พัชริดา วัฒนา อดีตนักร้องวัยรุ่นวงสาว สาว สาว และ นภัสสร บูรณศิริ นักร้องและดีเจ

ผลงานเด่น

โทรทัศน์

แผ่นเสียง

ฯลฯ

ภาพยนตร์

ละคร

คอนเสิร์ต

ฯลฯ

ปัจจุบันมีงานแสดงรับเชิญต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ทั่วทุกภาคของเมืองไทย

อ้างอิง

  1. อารีย์ นักดนตรี ,โลกมายาของอารีย์ ,กายมารุต 2546 ISBN:974-91018-4-7 หน้า 171
  2. อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 101
  3. รายการแซทแอนด์ซัน ,วพท.เอฟเอ็ม 90.5 ,23 กันยายน 2555