ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า พันธุฆาต ไปยัง การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ทับหน้าเปลี่ยนทาง: (น่าจะ) นิยมที่สุด
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พันธุฆาต''' ({{lang-en|genocide}}) หรือ '''"การทำลายล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์"''' (รัฐศาสตร์), '''"การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์"''' (ประชากรศาสตร์), '''"การล้างชาติ"''' หรือ '''"การล้างพันธุ์"''' (นิติศาสตร์) คือ การกระทำอย่างเป็นระบบและไตร่ตรองไว้ก่อนเพื่อทำลาย[[กลุ่มชาติพันธุ์]] [[กลุ่มเชื้อชาติ]] กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่
'''การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์'''<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสำหรับสาขาประชากรศาสตร์ ส่วนสาขาอื่นบัญญัติไว้ดังนี้ คือ นิติศาสตร์บัญญัติว่า "การล้างชาติ" หรือ "การล้างเผ่าพันธุ์" และรัฐศาสตร์บัญญัติว่า "การทำลายล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์" อนึ่ง ในสาขาประชากรศาสตร์ ยังบัญญัติว่า "พันธุฆาต" ด้วย</ref> ({{lang-en|genocide}}) คือ การกระทำอย่างเป็นระบบและไตร่ตรองไว้ก่อนเพื่อทำลาย[[กลุ่มชาติพันธุ์]] [[กลุ่มเชื้อชาติ]] กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่


ถึงแม้จะมีผู้ให้นิยามของ "พันธุฆาต" ไว้มากมายและบางทีก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่ทาง[[นิติศาสตร์]]นั้น [[สหประชาชาติ]]ได้กำหนดนิยามของพฤติการณ์นี้ในข้อ 2 แห่ง "[[อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและการลงโทษอาชญากรรมพันธุฆาต|อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันและการลงโทษอาชญากรรมการล้างชาติ พ.ศ. 2491]]" ({{lang-en|1948 United Nations Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide}}) ว่า พันธุฆาต หมายถึง "การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ เป็นต้นว่า ฆ่าสมาชิกของกลุ่ม กระทำให้สมาชิกของกลุ่มถึงแก่พิกลพิการอย่างหนักทางกายภาพหรือจิตภาวะ กระทำโดยไตร่ตรองหรือโดยคาดการณ์ไว้แล้วเพื่อให้เกิดแก่หรือนำพามาสู่สมาชิกของกลุ่มซึ่งทุกขเวทนาในสภาพความเป็นอยู่ กระทำโดยมาตรการใด ๆ เพื่อกันมิให้มีการถือกำเนิดของทารกภายในกลุ่ม หรือใช้กำลังนำพาผู้เยาว์ในกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง"<ref name=CPPCG>Office of the High Commissioner for Human Rights. ''[http://www.unhchr.ch/html/menu3/b/p_genoci.htm Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide]'' <!--Retrieved 2008-10-22--></ref>
ถึงแม้จะมีผู้ให้นิยามของ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ไว้มากมายและบางทีก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่ทาง[[นิติศาสตร์]]นั้น [[สหประชาชาติ]]ได้กำหนดนิยามของพฤติการณ์นี้ในข้อ 2 แห่ง "[[อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์]]" (1948 United Nations Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide) ว่า ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หมายถึง "การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ เป็นต้นว่า ฆ่าสมาชิกของกลุ่ม กระทำให้สมาชิกของกลุ่มถึงแก่พิกลพิการอย่างหนักทางกายภาพหรือจิตภาวะ กระทำโดยไตร่ตรองหรือโดยคาดการณ์ไว้แล้วเพื่อให้เกิดแก่หรือนำพามาสู่สมาชิกของกลุ่มซึ่งทุกขเวทนาในสภาพความเป็นอยู่ กระทำโดยมาตรการใด ๆ เพื่อกันมิให้มีการถือกำเนิดของทารกภายในกลุ่ม หรือใช้กำลังนำพาผู้เยาว์ในกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง"<ref name=CPPCG>Office of the High Commissioner for Human Rights. ''[http://www.unhchr.ch/html/menu3/b/p_genoci.htm Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide]'' <!--Retrieved 2008-10-22--></ref>


โดยใน[[คำปรารภ]]แห่งอนุสัญญาดังกล่าว ว่าได้เกิดกรณีตัวอย่างสำหรับพันธุฆาตขึ้นแล้วหลายครั้งหลายคราในประวัติศาสตร์โลก แต่ที่จริงแล้วคำว่า "genocide" นั้นเพิ่งได้รับการประดิษฐ์โดยนายราฟาเอล เลมคิน (Raphael Lemkin) นักนิติศาสตร์ลูกครึ่งโปแลนด์และยิว และประชาคมโลกเพิ่งยอมรับนิยามของ "พันธุฆาต" อย่างเป็นทางการภายหลังความหายนะที่[[นูเรมเบิร์ก]]
โดยใน[[คำปรารภ]]แห่งอนุสัญญาดังกล่าว ว่าได้เกิดกรณีตัวอย่างในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ขึ้นแล้วหลายครั้งหลายคราในประวัติศาสตร์โลก แต่ที่จริงแล้วคำว่า "genocide" นั้นเพิ่งได้รับการประดิษฐ์โดยนายราฟาเอล เลมคิน (Raphael Lemkin) นักนิติศาสตร์ลูกครึ่งโปแลนด์และยิว และประชาคมโลกเพิ่งยอมรับนิยามของ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" อย่างเป็นทางการภายหลังความหายนะที่[[นูเรมเบิร์ก]]


ปัจจุบัน ความผิดฐานกระทำพันธุฆาตเป็นอำนาจหน้าที่ของ[[ศาลอาญาระหว่างประเทศ]]ที่จะดำเนินกระบวนยุติธรรม แต่ก่อนหน้านี้ระหว่างที่ประชาคมโลกกำลังช่วยกันประดิษฐ์ศาลดังกล่าว เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะตุลาการเฉพาะกิจระหว่างประเทศ จนกระทั่ง[[ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ]]มีผลใช้บังคับในวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2545]]
ปัจจุบัน ความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เป็นอำนาจหน้าที่ของ[[ศาลอาญาระหว่างประเทศ]]ที่จะดำเนินกระบวนยุติธรรม แต่ก่อนหน้านี้ระหว่างที่ประชาคมโลกกำลังช่วยกันประดิษฐ์ศาลดังกล่าว เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะตุลาการเฉพาะกิจระหว่างประเทศ จนกระทั่ง[[ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ]]มีผลใช้บังคับในวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2545]]


นอกจากนี้ นับแต่[[อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและการลงโทษอาชญากรรมพันธุฆาต]] [[พ.ศ. 2491]] มีผลใช้บังคับในเดือน[[มกราคม พ.ศ. 2491]] เป็นต้นมา [[รัฐภาคี]]แห่งอนุสัญญาฯ ราว ๆ แปดสิบประเทศได้ประกาศใช้และปรับปรุง[[กฎหมาย]]ภายในเพื่ออนุวัติ[[อนุสัญญา]]ดังกล่าว และผู้กระทำความผิดฐานพันธุฆาตบางรายก็ได้รับการลงโทษตาม[[เทศบัญญัติ]]ก็มี เช่น ศาลเยอรมันได้พิพากษาว่านายนิโกลา จอร์จิก (Nikola Jorgic) กระทำความผิดดังกล่าวจริงตามเทศบัญญัติฉบับหนึ่ง
นอกจากนี้ นับแต่อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์มีผลใช้บังคับในเดือน[[มกราคม พ.ศ. 2491]] เป็นต้นมา [[รัฐภาคี]]แห่งอนุสัญญาฯ ราว ๆ แปดสิบประเทศได้ประกาศใช้และปรับปรุง[[กฎหมาย]]ภายในเพื่ออนุวัติ[[อนุสัญญา]]ดังกล่าว และผู้กระทำความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บางรายก็ได้รับการลงโทษตาม[[เทศบัญญัติ]]ก็มี เช่น ศาลเยอรมันได้พิพากษาว่านายนิโกลา จอร์จิก (Nikola Jorgic) กระทำความผิดดังกล่าวจริงตามเทศบัญญัติฉบับหนึ่ง


มีการวิพากษ์วิจารณ์อนุสัญญาดังกล่าวว่า ให้นิยาม "พันธุฆาต" แคบเกินไป โดยมิได้ให้ความคุ้มครองแก่กลุ่มทางการเมืองด้วย นอกจากนี้ การกระทำตามที่อนุสัญญาฯ บัญญัติไว้ว่าเป็นพันธุฆาตยังไม่เคยได้รับการไต่สวนจากศาลมาก่อนเลยจนกว่า[[อัยการ|พนักงานอัยการ]]จะได้ยื่นฟ้องเป็นราย ๆ ไป และยังไม่มีมาตรการเพียงพอที่จะ "กันไว้ดีกว่าแก้" ซึ่งเปรียบเหมือนว่า "วัวหายแล้วจึงค่อยล้อมคอก" กับทั้งยังมีปัญหาในการตีความอนุสัญญาฯ อีกด้วย เช่น ที่ว่า "[การกระทำใดเพื่อทำลายทั้งกลุ่มหรือ] ส่วนใหญ่" ส่วนใหญ่นี้จะหมายเอาจำนวนเท่าไร เป็นต้น
มีการวิพากษ์วิจารณ์อนุสัญญาดังกล่าวว่า ให้นิยาม "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" แคบเกินไป โดยมิได้ให้ความคุ้มครองแก่กลุ่มทางการเมืองด้วย นอกจากนี้ การกระทำตามที่อนุสัญญาฯ บัญญัติไว้ว่าเป็นฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ยังไม่เคยได้รับการไต่สวนจากศาลมาก่อนเลยจนกว่า[[อัยการ|พนักงานอัยการ]]จะได้ยื่นฟ้องเป็นราย ๆ ไป และยังไม่มีมาตรการเพียงพอที่จะ "กันไว้ดีกว่าแก้" ซึ่งเปรียบเหมือนว่า "วัวหายแล้วจึงค่อยล้อมคอก" กับทั้งยังมีปัญหาในการตีความอนุสัญญาฯ อีกด้วย เช่น ที่ว่า "[การกระทำใดเพื่อทำลายทั้งกลุ่มหรือ] ส่วนใหญ่" ส่วนใหญ่นี้จะหมายเอาจำนวนเท่าไร เป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== ดูเพิ่ม ==
* [[อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและการลงโทษอาชญากรรมพันธุฆาต]]


{{ศาลอาญาระหว่างประเทศ}}
{{ศาลอาญาระหว่างประเทศ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:17, 5 กุมภาพันธ์ 2556

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์[1] (อังกฤษ: genocide) คือ การกระทำอย่างเป็นระบบและไตร่ตรองไว้ก่อนเพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่

ถึงแม้จะมีผู้ให้นิยามของ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ไว้มากมายและบางทีก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่ทางนิติศาสตร์นั้น สหประชาชาติได้กำหนดนิยามของพฤติการณ์นี้ในข้อ 2 แห่ง "อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" (1948 United Nations Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide) ว่า ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หมายถึง "การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ เป็นต้นว่า ฆ่าสมาชิกของกลุ่ม กระทำให้สมาชิกของกลุ่มถึงแก่พิกลพิการอย่างหนักทางกายภาพหรือจิตภาวะ กระทำโดยไตร่ตรองหรือโดยคาดการณ์ไว้แล้วเพื่อให้เกิดแก่หรือนำพามาสู่สมาชิกของกลุ่มซึ่งทุกขเวทนาในสภาพความเป็นอยู่ กระทำโดยมาตรการใด ๆ เพื่อกันมิให้มีการถือกำเนิดของทารกภายในกลุ่ม หรือใช้กำลังนำพาผู้เยาว์ในกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง"[2]

โดยในคำปรารภแห่งอนุสัญญาดังกล่าว ว่าได้เกิดกรณีตัวอย่างในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ขึ้นแล้วหลายครั้งหลายคราในประวัติศาสตร์โลก แต่ที่จริงแล้วคำว่า "genocide" นั้นเพิ่งได้รับการประดิษฐ์โดยนายราฟาเอล เลมคิน (Raphael Lemkin) นักนิติศาสตร์ลูกครึ่งโปแลนด์และยิว และประชาคมโลกเพิ่งยอมรับนิยามของ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" อย่างเป็นทางการภายหลังความหายนะที่นูเรมเบิร์ก

ปัจจุบัน ความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เป็นอำนาจหน้าที่ของศาลอาญาระหว่างประเทศที่จะดำเนินกระบวนยุติธรรม แต่ก่อนหน้านี้ระหว่างที่ประชาคมโลกกำลังช่วยกันประดิษฐ์ศาลดังกล่าว เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะตุลาการเฉพาะกิจระหว่างประเทศ จนกระทั่งธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2545

นอกจากนี้ นับแต่อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์มีผลใช้บังคับในเดือนมกราคม พ.ศ. 2491 เป็นต้นมา รัฐภาคีแห่งอนุสัญญาฯ ราว ๆ แปดสิบประเทศได้ประกาศใช้และปรับปรุงกฎหมายภายในเพื่ออนุวัติอนุสัญญาดังกล่าว และผู้กระทำความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บางรายก็ได้รับการลงโทษตามเทศบัญญัติก็มี เช่น ศาลเยอรมันได้พิพากษาว่านายนิโกลา จอร์จิก (Nikola Jorgic) กระทำความผิดดังกล่าวจริงตามเทศบัญญัติฉบับหนึ่ง

มีการวิพากษ์วิจารณ์อนุสัญญาดังกล่าวว่า ให้นิยาม "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" แคบเกินไป โดยมิได้ให้ความคุ้มครองแก่กลุ่มทางการเมืองด้วย นอกจากนี้ การกระทำตามที่อนุสัญญาฯ บัญญัติไว้ว่าเป็นฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ยังไม่เคยได้รับการไต่สวนจากศาลมาก่อนเลยจนกว่าพนักงานอัยการจะได้ยื่นฟ้องเป็นราย ๆ ไป และยังไม่มีมาตรการเพียงพอที่จะ "กันไว้ดีกว่าแก้" ซึ่งเปรียบเหมือนว่า "วัวหายแล้วจึงค่อยล้อมคอก" กับทั้งยังมีปัญหาในการตีความอนุสัญญาฯ อีกด้วย เช่น ที่ว่า "[การกระทำใดเพื่อทำลายทั้งกลุ่มหรือ] ส่วนใหญ่" ส่วนใหญ่นี้จะหมายเอาจำนวนเท่าไร เป็นต้น

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสำหรับสาขาประชากรศาสตร์ ส่วนสาขาอื่นบัญญัติไว้ดังนี้ คือ นิติศาสตร์บัญญัติว่า "การล้างชาติ" หรือ "การล้างเผ่าพันธุ์" และรัฐศาสตร์บัญญัติว่า "การทำลายล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์" อนึ่ง ในสาขาประชากรศาสตร์ ยังบัญญัติว่า "พันธุฆาต" ด้วย
  2. Office of the High Commissioner for Human Rights. Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide