ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความคัดสรร/ธันวาคม 2555"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: <div style="float:left;margin-right:0.9em"> 120px|border|left|แถบดาวเคราะห์น้อย </div> '''แถ...
 
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ที่ผิด
 
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Asteroid Belt.jpg|120px|border|left|แถบดาวเคราะห์น้อย]]
[[ไฟล์:Asteroid Belt.jpg|120px|border|left|แถบดาวเคราะห์น้อย]]
</div>
</div>
'''[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]''' เป็นบริเวณใน[[ระบบสุริยะ]]ที่อยู่ระหว่าง[[วงโคจร]]ของ[[ดาวอังคาร]] กับ[[ดาวพฤหัสบดี]] ประกอบไปด้วยก้อนหินจำนวนมากลอยเกาะกลุ่มกันเป็นแถบ เรียกหินเหล่านี้ว่า [[ดาวเคราะห์น้อย]] หรือ [[ดาวเคราะห์แคระ]] บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากแถบดาวเคราะห์แคระอื่นๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น[[แถบไคเปอร์]] และ[[แถบหินกระจาย]]
'''[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]''' เป็นบริเวณใน[[ระบบสุริยะ]]ที่อยู่ระหว่าง[[วงโคจร]]ของ[[ดาวอังคาร]]กับ[[ดาวพฤหัสบดี]] ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่า[[ดาวเคราะห์น้อย]] (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น [[แถบไคเปอร์]]


[[มวล]]กว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในวัตถุขนาดใหญ่ 4 ชิ้น ได้แก่ [[ซีรีส]], [[4 เวสต้า]], [[2 พัลลัส]] และ [[10 ไฮเจีย]] ทั้งสี่ชิ้นนี้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]เพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือมีขนาดลดหลั่นกันลงไปจนถึงเศษฝุ่น ชิ้นส่วนในแถบดาวเคราะห์น้อยกระจายอยู่อย่างเบาบางจนกระทั่ง[[ยานอวกาศ]]หลายลำสามารถแล่นผ่านไปได้โดยไม่ชนกับอะไรเลย นอกจากนั้น ชิ้นส่วนดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ยังแตกสลายลง เกิดเป็นกลุ่ม[[ตระกูลดาวเคราะห์น้อย]]ที่มีองค์ประกอบธาตุและวงโคจรใกล้เคียงกัน การแตกสลายทำให้เกิดเศษฝุ่นละเอียดขึ้นซึ่งกลายเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เกิด[[แสงจักรราศี|แสงในแนว]][[จักรราศี]] ดาวเคราะห์น้อยแต่ละชิ้นในแถบดาวเคราะห์น้อยจะจัดแบ่งกลุ่มโดยแยกตามการสะท้อนแสง โดยหลักแล้วมีสามกลุ่มได้แก่ กลุ่ม[[คาร์บอน]] (C-type) กลุ่ม[[ซิลิกา]] (S-type) และกลุ่ม[[โลหะ]] (M-type) ('''[[แถบดาวเคราะห์น้อย|อ่านต่อ...]]''')
[[มวล]]กว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ [[ซีรีส]], [[4 เวสตา|เวสตา]], [[2 พัลลัส|พัลลัส]] และ[[10 ไฮเจีย|ไฮเจีย]] ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]เพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือมีขนาดลดหลั่นกันไปจนถึงเศษฝุ่น วัตถุในแถบดาวเคราะห์น้อยกระจายอยู่อย่างเบาบางจนกระทั่ง[[ยานอวกาศ]]หลายลำสามารถเคลื่อนผ่านไปได้โดยไม่ชนกับอะไรเลย นอกจากนั้น การชนกันระหว่างดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ได้ทำให้เกิด[[วงศ์ดาวเคราะห์น้อย]]ที่มีองค์ประกอบธาตุและวงโคจรใกล้เคียงกัน การแตกสลายทำให้เกิดเศษฝุ่นละเอียดซึ่งกลายเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของ[[แสงจักรราศี|แสงในแนว]][[จักรราศี]] ดาวเคราะห์น้อยแต่ละดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยได้รับการจำแนกตาม[[สเปกตรัม]] โดยหลักมี 3 ชนิด ได้แก่ ชนิด[[คาร์บอน]] (C-type) ชนิด[[ซิลิเกต]] (S-type) และชนิด[[โลหะ]] (M-type) ('''[[แถบดาวเคราะห์น้อย|อ่านต่อ...]]''')


บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: [[พังก์ร็อก]] – [[แรดชวา]] – [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]]
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: [[พังก์ร็อก]] – [[แรดชวา]] – [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:54, 1 ธันวาคม 2555

แถบดาวเคราะห์น้อย
แถบดาวเคราะห์น้อย

แถบดาวเคราะห์น้อย เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์

มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือมีขนาดลดหลั่นกันไปจนถึงเศษฝุ่น วัตถุในแถบดาวเคราะห์น้อยกระจายอยู่อย่างเบาบางจนกระทั่งยานอวกาศหลายลำสามารถเคลื่อนผ่านไปได้โดยไม่ชนกับอะไรเลย นอกจากนั้น การชนกันระหว่างดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ได้ทำให้เกิดวงศ์ดาวเคราะห์น้อยที่มีองค์ประกอบธาตุและวงโคจรใกล้เคียงกัน การแตกสลายทำให้เกิดเศษฝุ่นละเอียดซึ่งกลายเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของแสงในแนวจักรราศี ดาวเคราะห์น้อยแต่ละดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยได้รับการจำแนกตามสเปกตรัม โดยหลักมี 3 ชนิด ได้แก่ ชนิดคาร์บอน (C-type) ชนิดซิลิเกต (S-type) และชนิดโลหะ (M-type) (อ่านต่อ...)

บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: พังก์ร็อกแรดชวาสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า