ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาคม มกรานนท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 72: บรรทัด 72:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เกิดปี|2474}}ผู้สตีเฟนร์พ่อมันตายไอแว่นสตีเฟนร์เหี้ยไอเหี้ยสตีเฟนร์มันไอสัดสตีเฟนร์มัน(เจ้าแว่นรายการMทัต)
{{เกิดปี|2474}}
[[หมวดหมู่:นักแสดงไทย]]
[[หมวดหมู่:นักแสดงไทย]]
[[หมวดหมู่:ผู้ประกาศข่าวช่อง 7]]
[[หมวดหมู่:ผู้ประกาศข่าวช่อง 7]]เอ๊อกศันร์
[[หมวดหมู่:พิธีกรไทย]]
[[หมวดหมู่:พิธีกรไทย]]
[[หมวดหมู่:นักร้องไทย]]
[[หมวดหมู่:นักร้องไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:39, 24 มิถุนายน 2555

อาคม มกรานนท์
ไฟล์:อาคม มกรานนท์.jpg
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด3 กันยายน พ.ศ. 2474 (92 ปี)
อาคม มกรานนท์
อาชีพพิธีกร นักแสดง
ผลงานเด่นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง"
โฆษกการรัฐประหารในประเทศไทย 8 ครั้ง

อาคม มกรานนท์ (3 กันยายน พ.ศ. 2474[1] - ) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง อดีตสมาชิกวุฒิสภา มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีโทรทัสน์สีกองทัพบกช่อง 7ในขณะนั้น) เป็นผู้ประกาศข่าวทางโทรทัศน์ รุ่นแรก ๆ ของเมืองไทยและเป็นโฆษกประกาศการรัฐประหารในประเทศไทย ถึง 8 ครั้ง

อาคม มกรานนท์ เป็นบุตรของนายขำ มกรานนท์[2] เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2474

ไฟล์:สมุดภาพไทยทีวี อาคม มกรานนท์.jpg
จากหนังสือ ภาพและประวัติเจ้าหน้าที่ ไทยทีวี ช่อง ๔ และ ททท.
อาคม มกรานนท์ ในละครเรื่องเสือเก่า ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสี่ บางขุนพรหม (จากซ้ายไปขวา สมจินต์ ธรรมทัต กัณทรีย์ นาคประภา อาคม มกรานนท์

อาคม มกรานนท์ เป็นผู้ประกาศข่าวรุ่นแรก และเป็นพระเอกละครโทรทัศน์ ของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 มีผลงานโดดเด่นเรื่องสี่แผ่นดิน รับบทเป็นคุณเปรม คู่กับสุธัญญา ศิลปเวทิน และมีผลงานแสดงภาพยนตร์ไทยหลายเรื่อง ต่อมาได้ย้ายไปทำงานกับช่อง 7 เป็นพิธีกรรายการเกมโชว์ "นาทีทอง" ช่วงเที่ยงวันอาทิตย์ และ "ประตูดวง" ช่วงเย็นวันอาทิตย์ ทั้งสองรายการเป็นรายการที่มียอดผู้ชมสูงสุด ต่อมาได้ลาออกจากการเป็นพิธีกรเพื่อไปรับตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภา

ใน พ.ศ. 2519 ก่อนช่วงเหตุการณ์ 6 ตุลา อาคม มกรานนท์ มีส่วนร่วมทางการเมืองร่วมกับฝ่ายรัฐบาลทหาร เป็นโฆษกของชมรมวิทยุเสรี ทางสถานีวิทยุยานเกราะ ที่ออกอากาศโจมตีฝ่ายนักศึกษา ร่วมกับ พ.ท.อุทาร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และอุทิศ นาคสวัสดิ์[3] อีกทั้งยังเป็นพิธีกรรายงานสนทนาประสาชาวบ้าน ร่วมกับนายสมัคร สุนทรเวช[4]

เนื่องจากอาคม มกรานนท์ เป็นนักแสดง และผู้ประกาศข่าวที่มีชื่อเสียงเป็นคุ้นหน้าคุ้นตา ในการรัฐประหารทุกครั้ง จึงมักถูกฝ่ายก่อการเชิญตัวเป็นผู้อ่านประกาศแถลงการณ์ จนเป็นที่กล่าวขานว่า อาคม มกรานนท์อ่านประกาศให้กับฝ่ายใด ฝ่ายนั้นมักจะเป็นผู้ชนะ จนได้รับฉายาว่า "โฆษกคณะปฏิวัติ" เช่นเดียวกับ พลตรีประพาศ ศกุนตนาค โดยเริ่มอ่านครั้งแรกคือ การรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2500 ขณะมีอายุได้แค่ 25 ปี[1][5]

ผลงานแสดง

  • วนาลี (2502)
  • สี่คิงส์ (2502)
  • ดวงชีวัน (2503)
  • ตุ๊กตาผี (2503)
  • ฟูแมนจู (2503)
  • รอยไถ (2503)
  • สุดชีวิต (2503)
  • เสือเก่า (2503)
  • ไอ้ค้างคาว (2503)
  • เจ็ดประจัญบาน (2506)
  • อรัญญิก (2508)
  • ชุมทางรัก (2509)
  • นกเอี้ยง (2509)
  • แสงเทียน (2509)
  • กู่การะเวก (2510)
  • มดแดง (2510)
  • อีรวง (2514)
  • ผู้สตีใหญ่ไอสตีแฟนร์มันกวนตีน(รายกานMทัต)ช่อง9โมเดอร์ไนน์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 กนก รัตน์วงศ์สกุล, ชีวิตรื่นรมย์ 29 กันยายน พ.ศ. 2549
  2. ข่าวสารวงการ พระเครื่อง
  3. [http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=634 กลุ่มพลังของฝ่ายอำนาจเก่า ช่วง 6 ตุลา 19], สารคดี "รวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย", สำเนาจาก รักบ้านเกิด.คอม
  4. 2519.net
  5. เก็บตกแถลงยึดอำนาจ โปรดฟังอีกครั้ง ปฏิวัติไม่มีล้าสมัย สำเนาจาก เดลินิวส์

ผู้สตีเฟนร์พ่อมันตายไอแว่นสตีเฟนร์เหี้ยไอเหี้ยสตีเฟนร์มันไอสัดสตีเฟนร์มัน(เจ้าแว่นรายการMทัต)เอ๊อกศันร์