ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำเหมืองแร่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pcd:Mine
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Chino_copper_mine.jpg|thumb|right|250px|เหมืองทองแดงเอลชิโน ตัวอย่างเหมืองเปิดในสหรัฐอเมริกา]]
[[ไฟล์:Chino_copper_mine.jpg|thumb|right|250px|เหมืองทองแดงเอลชิโน ตัวอย่างเหมืองเปิดในสหรัฐอเมริกา]]


'''การทำเหมืองแร่''' คือการสกัดเอา[[แร่]]ที่มีค่า หรือ วัสดุทาง[[ธรณีวิทยา]]อื่นๆ จากใต้ผืนแผ่นดิน ปกติขุดที่ตัวแหล่งแร่หรือ[[สายแร่]]ที่อยู่ใต้ดิน วัสดุทั่วไปที่สกัดได้ ได้แก่[[บอกไซต์]] (สำหรับหลอมเป็น[[อะลูมิเนียม]]) [[ถ่านหิน]] [[ทองแดง]] [[เพชร]] [[เหล็ก]] [[ทองคำ]] [[ตะกั่ว]] [[แมงกานีส]] [[แมกนิเซียม]] [[นิเกิล]] [[ฟอสเฟต]] [[แพลตินัม]] [[เกลือหิน]] [[เงิน]] [[ดีบุก]] [[ไททาเนียม]] [[ยูเรเนียม]] และ[[สังกะสี]] วัสดุมีค่าอื่นๆ ที่มีการทำเหมืองเช่นกันได้แก่ [[ดินเหนียว]] [[ดินขาว]] [[ทราย]] [[กรวด]] [[หินแกรนิต]] [[หินปูน]]และ[[หินอ่อน]] วัสดุอื่นใดที่ไม่สามารถผลิตจากพืชจะมากจากการทำเหมือง การทำเหมืองในความหมายที่กว้าง รวมถึง[[การขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม]] [[ก๊าซธรรมชาติ]] หรือแม้แต่[[น้ำ]]
'''การทำเหมืองแร่''' คือการสกัดเอา[[แร่]]ที่มีค่า หรือ วัสดุทาง[[ธรณีวิทยา]]อื่นๆ จากใต้ผืนแผ่นดิน ปกติขุดที่ตัวแหล่งแร่หรือ[[สายแร่]]ที่อยู่ใต้ดิน วัสดุทั่วไปที่สกัดได้ แร่โลหะ ได้แก่[[บอกไซต์]] (สำหรับหลอมเป็น[[อะลูมิเนียม]]) [[ทองแดง]] [[เหล็ก]] [[ทองคำ]] [[ตะกั่ว]] [[แมงกานีส]] [[แมกนิเซียม]] [[นิเกิล]] [[ฟอสเฟต]] [[แพลตินัม]] [[เงิน]] [[ดีบุก]] [[ไททาเนียม]] [[ยูเรเนียม]] [[สังกะสี]] แร่อโลหะ เช่น [[เกลือหิน]] [[ถ่านหิน]]และ แร่รัตนชาติ เช่น [[เพชร]] [[พลอย]]
วัสดุมีค่าอื่นๆ ที่มีการทำเหมืองเช่นกันได้แก่ [[ดินเหนียว]] [[ดินขาว]] [[ทราย]] [[กรวด]] [[หินแกรนิต]] [[หินปูน]]และ[[หินอ่อน]] วัสดุอื่นใดที่ไม่สามารถผลิตจากพืชจะมากจากการทำเหมือง การทำเหมืองในความหมายที่กว้าง รวมถึง[[การขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม]] [[ก๊าซธรรมชาติ]] หรือแม้แต่[[น้ำ]]


เหมืองแร่เก่าที่ขุดแบบเปิด มักก่อ[[ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม]]และ[[สุนทรียภาพ]] ในต่างประเทศ รวมทั้งประเทศไทยจึงมีกฎหมายบังคับให้[[ผู้รับสัมปทาน]]ต้องทำการฟื้นฟูสภาพ (Reclamation) ซึ่งปกติมีงาน[[ภูมิสถาปัตยกรรม]]เป็นส่วนสำคัญ ตัวอย่างที่ดีในประเทศไทยได้แก่[[เหมืองแม่เมาะ]] ที่[[อำเภอแม่เมาะ]] [[จังหวัดลำปาง]]
เหมืองแร่เก่าที่ขุดแบบเปิด มักก่อ[[ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม]]และ[[สุนทรียภาพ]] ในต่างประเทศ รวมทั้งประเทศไทยจึงมีกฎหมายบังคับให้[[ผู้รับสัมปทาน]]ต้องทำการฟื้นฟูสภาพ (Reclamation) ซึ่งปกติมีงาน[[ภูมิสถาปัตยกรรม]]เป็นส่วนสำคัญ ตัวอย่างที่ดีในประเทศไทยได้แก่[[เหมืองแม่เมาะ]] ที่[[อำเภอแม่เมาะ]] [[จังหวัดลำปาง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:30, 9 กันยายน 2553

เหมืองทองแดงเอลชิโน ตัวอย่างเหมืองเปิดในสหรัฐอเมริกา

การทำเหมืองแร่ คือการสกัดเอาแร่ที่มีค่า หรือ วัสดุทางธรณีวิทยาอื่นๆ จากใต้ผืนแผ่นดิน ปกติขุดที่ตัวแหล่งแร่หรือสายแร่ที่อยู่ใต้ดิน วัสดุทั่วไปที่สกัดได้ แร่โลหะ ได้แก่บอกไซต์ (สำหรับหลอมเป็นอะลูมิเนียม) ทองแดง เหล็ก ทองคำ ตะกั่ว แมงกานีส แมกนิเซียม นิเกิล ฟอสเฟต แพลตินัม เงิน ดีบุก ไททาเนียม ยูเรเนียม สังกะสี แร่อโลหะ เช่น เกลือหิน ถ่านหินและ แร่รัตนชาติ เช่น เพชร พลอย

วัสดุมีค่าอื่นๆ ที่มีการทำเหมืองเช่นกันได้แก่ ดินเหนียว ดินขาว ทราย กรวด หินแกรนิต หินปูนและหินอ่อน วัสดุอื่นใดที่ไม่สามารถผลิตจากพืชจะมากจากการทำเหมือง การทำเหมืองในความหมายที่กว้าง รวมถึงการขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ หรือแม้แต่น้ำ

เหมืองแร่เก่าที่ขุดแบบเปิด มักก่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุนทรียภาพ ในต่างประเทศ รวมทั้งประเทศไทยจึงมีกฎหมายบังคับให้ผู้รับสัมปทานต้องทำการฟื้นฟูสภาพ (Reclamation) ซึ่งปกติมีงานภูมิสถาปัตยกรรมเป็นส่วนสำคัญ ตัวอย่างที่ดีในประเทศไทยได้แก่เหมืองแม่เมาะ ที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง

ประเภทของการทำเหมืองแร่

  • เหมืองครา (Hill mining)
  • เหมืองปล่อง (Driffing)
  • เหมืองหาบ (Opencast or Open Pit Mining)
  • เหมืองแล่น (Ground Slucing)
  • เหมืองสูบ (Gravel Pumping)
  • เหมืองฉีด (Hydraulicking)
  • เหมืองเจาะงัน (Gophering Hole)
  • เหมืองเรือขุด (Dredging)
  • เหมืองเรือสูบ (Sucking Boat)
  • เหมืองอุโมงค์/เหมืองใต้ดิน (Underground Mining)