ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายกักกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ระวังสับสน|ค่ายมรณะ}}
{{ระวังสับสน|ค่ายมรณะ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ค่ายกักกัน''' (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขัง[[นักโทษ]] หรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของ[[พรรคนาซี]]ใน[[เยอรมัน]]และค่ายกักกันแรงงานใน[[สหภาพโซเวียต]]
'''ค่ายกักกัน''' (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขัง[[นักโทษ]]หรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของ[[พรรคนาซี]]ใน[[เยอรมัน]]และค่ายกักกันแรงงานใน[[สหภาพโซเวียต]]


ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิด[[สงครามบัวร์]]ใน[[แอฟริกาใต้]] โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบๆค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด
ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิด[[สงครามบัวร์]]ใน[[แอฟริกาใต้]] โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบ ๆ ค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด


ค่ายกักกันที่สำคัญๆได้แก่
ค่ายกักกันที่สำคัญ ๆ ได้แก่
* ค่ายกักกันที่ดาเคา (Dachau)
* ค่ายกักกันที่ดาเคา (Dachau)
* [[ค่ายกักกันเอาสชวิทซ์]] (Auschwitz)
* [[ค่ายกักกันเอาชวิทซ์]] (Auschwitz)
* ค่ายกักกันเชล์มโน (Chelmno)
* ค่ายกักกันเคล์มนอ (Chełmno)
* [[ค่ายมรณะเบลเซค]] (Belzec)
* [[ค่ายมรณะเบวเชตซ์]] (Bełżec)
* ค่ายกักกันที่ไมดาเนก (Meidanek)
* ค่ายกักกันที่ไมดาเนก (Majdanek)
* ค่ายมรณะโซบิบอร์ (Sobibor)
* ค่ายมรณะโซบีบอร์ (Sobibor)
* ค่ายกักกันเตรบลิงกา (Treblinka)
* ค่ายกักกันเตรบลิงคา (Treblinka)
* [[ค่ายกักกันบูเคนวอลด์]] (Buchenwald)
* [[ค่ายกักกันบูเคนวัลด์]] (Buchenwald)
* ค่ายกักกันบอกดานอฟกา (Bogdanovka)
* ค่ายกักกันบอกดานอฟกา (Bogdanovka)
* ค่ายกักกันดูมานอฟกา (Damanovka)
* ค่ายกักกันดามานอฟกา (Damanovka)
* ค่ายกักกันอัคเนคคา (Aknecetka)
* ค่ายกักกันอัคเนเซตคา (Aknecetka)



== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* '''สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์''' สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม C-D
* สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์. '''สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม C-D.'''


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:01, 15 กรกฎาคม 2553

ค่ายกักกัน (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขังนักโทษหรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของพรรคนาซีในเยอรมันและค่ายกักกันแรงงานในสหภาพโซเวียต

ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิดสงครามบัวร์ในแอฟริกาใต้ โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบ ๆ ค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด

ค่ายกักกันที่สำคัญ ๆ ได้แก่

อ้างอิง

  • สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์. สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม C-D.

ดูเพิ่ม