ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Xithy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| color = lightblue
| color = lightblue
| name = Fungi
| name = Fungi
| fossil_range = Early [[Devonian]] - Recent (but see text)
| fossil_range = Early [[Devonian]] Recent (but [[#Evolution|see text]]) {{fossilrange|410|0|}}
| image = Fungi_collage.jpg
| image = Fungi_collage.jpg
| image_width = 280px
| image_width = 280px
| image_caption = Clockwise from top left: ''[[Amanita muscaria]]'', a basidiomycete; ''[[Sarcoscypha coccinea]]'', an ascomycete; [[black bread mold]], a zygomycete; a chytrid; a ''[[Penicillium]]'' [[conidiophore]].
| image_caption = Clockwise from top left: ''[[Amanita muscaria]]'', a basidiomycete; ''[[Sarcoscypha coccinea]]'', an ascomycete; bread covered in [[mold]]; a chytrid; a ''[[Penicillium]]'' [[conidiophore]].
| image_alt = A collage of five fungi (clockwise from top left): a mushroom with a flat, red top with white-spots, and a white stem growing on the ground; a red cup-shaped fungus growing on wood; a stack of green and white moldy bread slices on a plate; a microscopic, spherical grey-colored semitransparent cell, with a smaller spherical cell beside it; a microscopic view of an elongated cellular structure shaped like a microphone, attached to the larger end is a number of smaller roughly circular elements that collectively form a mass around it
| domain=[[Eukarya]]
| domain=[[Eukarya]]
| unranked_regnum = [[Opisthokont]]a
| unranked_regnum = [[Opisthokont]]a
| regnum = '''Fungi'''
| regnum = '''Fungi'''
| regnum_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]], 1753) R.T. Moore, 1980<ref>{{cite journal | title=Taxonomic proposals for the classification of marine yeasts and other yeast-like fungi including the smuts | year=1980 | journal=Bot. Mar. | volume=23 | pages=371}}</ref>
| regnum_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]], 1753) R.T. Moore, 1980<ref>{{cite journal |author = Moore RT. | year=1980| title=Taxonomic proposals for the classification of marine yeasts and other yeast-like fungi including the smuts | journal=Botanica Marine | volume=23 | pages=361–73}}</ref>
| subdivision_ranks = Subkingdoms/Phyla
| subdivision_ranks = Subkingdoms/Phyla/Subphyla<ref>The classification system presented here is based on the 2007 phylogenetic study by Hibbett ''et al''.</ref>
| subdivision =
| subdivision =
:[[Chytridiomycota]]
: [[Blastocladiomycota]]
:[[Blastocladiomycota]]
: [[Chytridiomycota]]
: [[Glomeromycota]]
:[[Neocallimastigomycota]]
:[[Glomeromycota]]
: [[Microsporidia]]
: [[Neocallimastigomycota]]
:[[Zygomycota]]
[[Dikarya]] (inc. [[Deuteromycota]])<br/>
[[Dikarya]] (inc. [[Deuteromycota]])<br/>
:[[Ascomycota]]
: [[Ascomycota]]
:[[Basidiomycota]]
:: [[Pezizomycotina]]
:: [[Saccharomycotina]]
:: [[Taphrinomycotina]]
: [[Basidiomycota]]
:: [[Agaricomycotina]]
:: [[Pucciniomycotina]]
:: [[Ustilaginomycotina]]
Subphyla [[Incertae sedis]]
: [[Entomophthoromycotina]]
: [[Kickxellomycotina]]
: [[Mucoromycotina]]
: [[Zoopagomycotina]]
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:56, 7 มกราคม 2553

Fungi
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Early Devonian – Recent (but see text)
A collage of five fungi (clockwise from top left): a mushroom with a flat, red top with white-spots, and a white stem growing on the ground; a red cup-shaped fungus growing on wood; a stack of green and white moldy bread slices on a plate; a microscopic, spherical grey-colored semitransparent cell, with a smaller spherical cell beside it; a microscopic view of an elongated cellular structure shaped like a microphone, attached to the larger end is a number of smaller roughly circular elements that collectively form a mass around it
Clockwise from top left: Amanita muscaria, a basidiomycete; Sarcoscypha coccinea, an ascomycete; bread covered in mold; a chytrid; a Penicillium conidiophore.
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
โดเมน: Eukarya
ไม่ได้จัดลำดับ: Opisthokonta
อาณาจักร: Fungi
(L., 1753) R.T. Moore, 1980[1]
Subkingdoms/Phyla/Subphyla[2]
Blastocladiomycota
Chytridiomycota
Glomeromycota
Microsporidia
Neocallimastigomycota

Dikarya (inc. Deuteromycota)

Ascomycota
Pezizomycotina
Saccharomycotina
Taphrinomycotina
Basidiomycota
Agaricomycotina
Pucciniomycotina
Ustilaginomycotina

Subphyla Incertae sedis

Entomophthoromycotina
Kickxellomycotina
Mucoromycotina
Zoopagomycotina

รา หรือเชื้อราเป็นจุลินทรีย์ เป็นเซลล์ยูแคริโอตที่อยู่ในอาณาจักรเห็ดรา มีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid)มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin)ไม่มีคลอโรฟิล ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์ เชื้อรามีความหลากหลายมาก พบทั้งที่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ เส้นใย (hypha) และ ดอกเห็ด (mushroom) เส้นใยหรือไฮฟา(hypha)เมื่อรวมกลุ่มจำนวนมาก เรียกว่า mycelium [3] เส้นใยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ

  • เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hypha) สามารถเห็นนิวเคลียสและไซโตพลาสซึมเป็นช่องๆได้อย่างชัดเจน
  • เส้นใยแบบไม่มีผนังกั้น (nonseptate hypha หรือ coenocytic hypha) นิวเคลียสและไซโตพลาสซึมจะอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย

เชื้อราส่วนใหญ่มีการดำรงชีพทั้งที่เป็นอิสระหรือ saprophyte และก่อให้เกิดโรคกับพืชและสัตว์ เชื้อราแบ่งตามแหล่งกำเนิด อาจมีทั้งที่เป็นเชื้อราบกพบทั่วไปในดิน ( terrestrial fungi) เชื้อราน้ำ (aquatic fungi) ทั้งเชื้อราน้ำจืด (fresh water fungi) และเชื้อราน้ำเค็ม (marine fungi) ในบรรดาเชื้อราที่เจริญอยู่ตามแหล่งธรรมชาติเหล่านี้มีเชื้อราจำนวนมาก ที่สามารถนำมาเลี้ยงให้เจริญบนอาหารที่เจริญอยู่ตามแหล่งธรรมชาติเหล่านี้มีเชื้อราจำนวนมากที่สามาถนำมาเลี้ยงให้เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติการได้

การสืบพันธุ์

  • แบบไม่อาศัยเพศโดยอาจจะเกิดจาก
    • การสร้างสปอร์ ซึ่งจะไปงอกเป็นไมซีเลียมที่มีนิวเคลียสเป็น n
    • เส้นใยแตกหักออกไปแล้วเจริญเป็นไมซีเลียมอันใหม่
    • การแบ่งออกเป็นสองส่วนหรือการแตกหน่อ
  • แบบอาศัยเพศได้โดยเส้นใยที่เป็น n หลอมรวมกันแล้วรวมนิวเคลียสเป็น 2n เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียส (nucleus) จากสองเซลล์ที่อยู่ใกล้กัน หรืออยู่คนละ hypha แล้วมีการแบ่งเซลล์แบบ meiosis เจริญเป็น sexual spore ซึ่งมีรูปร่างต่างๆ กัน โดยมีจำนวนสปอร์ภายในเครื่องห่อหุ้มหรืออยู่บนโครงสร้างพิเศษจำนวนจำกัด
    • Zygospore
    • Ascospore
    • Basidiospore

การจัดจำแนก

แบ่งตามไฟลัมได้ 4 ไฟลัมคือ

  • Chytridiomycota หรือไคทริด เป็นพวกที่มี แฟลกเจลล่า เป็นราที่มีการสร้างสปอร์ที่มีแฟลกเจลเลต มักอยู่ร่วมกัน กับ สาหร่าย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำ จัดเป็นราที่โบราณที่สุด พบตามพืชน้ำที่ตายแล้ว หรือตามเศษหินเศษทรายในน้ำ เป็นปรสิตในพืชน้ำและสัตว์ เช่น Batrachochytrium เป็นปรสิตในกบ
  • Zygomycota หรือไซโกต ฟังไจ เป็นพวกที่อาศัยอยู่บนดิน เช่น ราดำ บางชนิดก่อให้เกิดโรคราสนิม บางชนิดใช้ผลิตกรดฟูมาลิก Rhizopus nigricans มีการสร้างไซโกสปอร์จากเซลล์ใหม่ที่เกิดจากการปฏิสนธิ ตัวอย่างเช่น ราขนมปัง เมื่อสายของราที่ต่างกันมาพบกัน จะเกิดการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการรวมของนิวเคลียสได้เป็น ไซโกสปอร์ (2n) ส่วนที่เป็นไซโกสปอร์นี้จะเป็นระยะพักของรามีผนังหนาเป็นสีดำ เมื่อสภาวะเหมาะสมไซโกสปอร์จะงอก และสร้างส่วนที่เรียกว่าสปอแรงเกีย (sporangia) ซึ่งจะเกิดการแบ่งตัวแบบไมโอซิส สร้างสปอร์ที่เป็น n เมื่อสปอร์นี้งอกจะได้เส้นใยที่มีนิวเคลียสเป็นแฮพลอยด์ต่อไป
  • Ascomycota หรือ แซค ฟังไจ เป็นฟังไจที่พบมากที่สุด โดยส่วนใหญ่พวกหลายเซลล์ในกลุ่มนี้ เป็นเห็ดที่มีลักษณะเป็นรูปถ้วย มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในถุง แอสคัส ภายในมี แอสโคสปอร์ เช่น ยีสต์(yeast)
  • Basidiomycota หรือคลับ ฟังไจ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ บนอวัยวะที่คล้ายกระบอง(Basidium) ภายในมี Basidiospore เป็นราที่ผลิตบาสิดิโอสปอร์ (basidiospore) ซึ่งจะงอกเป็นสายที่เป็นแฮพลอยด์ เรียก primary mycelium จากนั้นผนังของไมซีเลียมจะมารวมกันได้เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียสสองอัน แต่ละอันเป็น n เรียกว่าไดคาริโอต (dikaryote) เส้นใยที่เป็นไดคาริโอตนี้จะรวมกันเป็นโครงสร้างที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือ tertiary mycelium ซึ่งเป็นส่วนที่เรียกว่าดอกเห็ด เมื่อจะมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ นิวเคลียสทั้งสองอันรวมเข้าเป็น 2n จากนั้นจึงแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์อีก ส่วนใหญ่เป็นเห็ดทั้งที่กินได้และเป็นพิษสามารถกินได้ เช่น เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า เป็นต้น

อ้างอิง

  1. Moore RT. (1980). "Taxonomic proposals for the classification of marine yeasts and other yeast-like fungi including the smuts". Botanica Marine. 23: 361–73.
  2. The classification system presented here is based on the 2007 phylogenetic study by Hibbett et al.
  3. Alexopoylos, C.J and C.W. Mims. 1979.Introductory Mycology 3 rd ed. John Wiley & Sons., New York. 632pp.