ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอซีโทน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: lt:Acetonas
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
translate cat
บรรทัด 117: บรรทัด 117:
*{{ecb}}
*{{ecb}}


[[Category:Ketones]]
[[Category:คีโตน]]
[[Category:สารเคมีภายในครัวเรือน]]
[[Category:Household chemicals]]
[[Category:Solvents]]
[[Category:ตัวทำละลาย]]


[[cs:Aceton]]
[[cs:Aceton]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:50, 21 กรกฎาคม 2549

แอซีโทน
แอซีโทน
ทั่วไป
ชื่อ Propanone
ชื่ออื่น β-ketopropane
Dimethyl ketone
สูตรโมเลกุล C3H6O
SMILES CC(=O)C
สูตรโมเลกุล 58.09 g/mol
ลักษณะปรากฏ colourless liquid
เลขทะเบียน CAS [67-64-1]
Properties
ความหนาแน่น และ เฟส 0.79 g/cm3, liquid
การละลาย ใน น้ำ miscible
จุดหลอมเหลว -94.9 °C (178.2 K)
จุดเดือด 56.3 °C (329.4 K)
Viscosity 0.32 cP at 20 °C
Structure
Molecular shape trigonal planar at C=O
Dipole moment 2.91 D
Hazards
MSDS External MSDS
EU classification Flammable (F)
Irritant (Xi)
NFPA 704
Flash point -20 °C
Autoignition temperature 465 °C
RTECS number AL31500000
Supplementary data page
Structure & properties n, εr, etc.
Thermodynamic data Phase behaviour
Solid, liquid, gas
Spectral data UV, IR, NMR, MS
Related compounds
Related ketones Butanone
Related solvents Water
Ethanol
Isopropanol
Toluene
Except where noted otherwise, data are given for
materials in their standard state (at 25°C, 100 kPa)
Infobox disclaimer and references

ในทาง เคมี, อะซิโตน (อังกฤษ:acetone มีชื่ออีกหลายชื่อดังนี้ propanone, dimethyl ketone, 2-propanone, propan-2-one และ beta-ketopropane) เป็นสารเคมีที่พื้นฐานที่สุดของ คีโตน (ketone)

อะซิโตน เป็นของเหลวที่ระเหยง่ายไม่มีสีมีจุดหลอมเหลวที่ -95.4 °C และจุดเดือดที่ 56.53 °C มันมี ความหนาแน่นสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.819 (ที่ 0 °C) ละลายได้ดีใน น้ำ เอทานอล อีเทอร์ ฯลฯ และเป็นตัวทำละลายที่สำคัญมาก การใช้งานอะซิโตนที่คุ้นเคยกันมากที่สุดคือใช้ในน้ำยาล้างเล็บ อะซิโตน ยังใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม พลาสติก ไฟเบอร์ ยา และ สารเคมีอื่นๆ

บทบาทในทางชีวภาพ (Biological aspects)

มันเป็นสมาชิกใน กลุ่มคีโตน ตามปกติจะมีในปริมาณเล็กน้อยใน ปัสสาวะ และใน เลือด ปริมาณมากๆ มักจะพบหลังอดอาหาร (starvation) และในคนไข้ที่เป็น โรคเบาหวาน ที่ขาด อินสุลิน อย่างหนัก (ในคนไข้ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาไม่เต็มที่) สังเกตุได้จากลมหายใจที่จะมีกลิ่นเหมือนผลไม้ อันเกิดจาก อะซิโตน ซึ่งเรียกว่า ภาวะคีโตซีส (diabetic ketoacidosis) อะซิโตนเกิดเองตามธรรมชาติในพืช ต้นไม้ ก๊าซภูเขาไฟ ไฟป่า และเป็นผลผลิตจากการสะลายตัวของไขมัน นอกจากนี้ยังพบในควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ควันบุหรี่ กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมช่วยทำให้มีอะซิโตนในสิ่งแวดล้อมมากกว่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

ลิงก์ภายนอก