ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วราวุธ สุธีธร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
cat
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
[[Image:V_suteethorn.jpg|thumb|ดร.วราวุธ กับงานฟอสซิล]]
[[Image:V_suteethorn.jpg|thumb|ดร.วราวุธ กับงานฟอสซิล]]


'''ดร.วราวุธ สุธีธร''' (10 ตุลาคม 2491- ) เป็นนักธรณีวิทยา ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลัง (นักไดโนเสาร์วิทยา)สังกัดสำนักงาน[[ธรณีวิทยา]] [[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] วราวุธ มีชื่อเล่นว่า '''หมู''' และมักจะเป็นที่รักของเด็กๆ และถูกเรียกว่า "ลุงหมู" ขวัญใจเด็กๆ เนื่องจากการเป็นนักธรณีวิทยาที่ค้นพบ[[ไดโนเสาร์]]หลายพันธุ์ในเขต [[ภูเวียง]] [[ภูกุ้มข้าว]] และหลายๆพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
'''ดร. วราวุธ สุธีธร''' ([[10 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2491]] — ) เป็น[[นักธรณีวิทยา]] ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลัง (นักไดโนเสาร์วิทยา) สังกัดสำนักงาน[[ธรณีวิทยา]] [[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] วราวุธมีชื่อเล่นว่า '''หมู''' และมักจะเป็นที่รักของเด็กๆ และถูกเรียกว่า "ลุงหมู" ขวัญใจเด็กๆ เนื่องจากการเป็นนักธรณีวิทยาที่ค้นพบ[[ไดโนเสาร์]]หลายพันธุ์ในเขต [[ภูเวียง]] [[ภูกุ้มข้าว]] และหลาย ๆ พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


วราวุธ จบธรณีวิทยา (วท.บ.)จาก[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และได้รับวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาชีววิทยา จาก[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] ปัจจุบันยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว]] อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ อีกหนึ่งฐานะด้วย
วราวุธ จบธรณีวิทยา (วท.บ.) จาก[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และได้รับวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาชีววิทยา จาก[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] ปัจจุบันยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว]] อ. สหัสขันธ์ [[จังหวัดกาฬสินธุ์]] อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย


วราวุธ สมรสแล้ว กับนางประภัสร์พร สุธีธร (ฉ่ำเฉลิม) มีบุตร/บุตรี 3 คน คือ นาง สุธาทิพย์ (สุธีธร) กาวิเนตร, นส.ธนาสิริ สุธีธร และ นาย สุรเวช สุธีธร เข้ารับราชการที่[[กรมทรัพยากรธรณี]] เมื่อปี 2517 มีภาระกิจทำหน้าที่สำรวจและทำแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณภาคตะวันตกและอิสาน ทำให้พบกระดูกไดโนเสาร์หลายแหล่งในอิสาน จนต่อมาได้มีความร่วมมือกับคณะสำรวจชีววิทยาไทย-ฝรั่งเศส ทำการสำรวจฟอสซิลสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทยในปี 2523 เป้นต้นมา อีกทั้งได้เป็นวิทยากรถวายรายงานแด่[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ]] ที่ภูเวียง ภูหลวง และภูกุ้มข้าว เกี่ยวกับไดโนเสาร์หลายครั้ง
วราวุธ สมรสแล้ว กับนางประภัสร์พร สุธีธร (ฉ่ำเฉลิม) มีบุตร/บุตรี 3 คน คือ นาง สุธาทิพย์ (สุธีธร) กาวิเนตร, นส.ธนาสิริ สุธีธร และ นาย สุรเวช สุธีธร เข้ารับราชการที่[[กรมทรัพยากรธรณี]] เมื่อปี 2517 มีภาระกิจทำหน้าที่สำรวจและทำแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณภาคตะวันตกและอิสาน ทำให้พบกระดูกไดโนเสาร์หลายแหล่งในอิสาน จนต่อมาได้มีความร่วมมือกับคณะสำรวจชีววิทยาไทย-ฝรั่งเศส ทำการสำรวจฟอสซิลสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทยในปี 2523 เป้นต้นมา อีกทั้งได้เป็นวิทยากรถวายรายงานแด่[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ]] ที่ภูเวียง ภูหลวง และภูกุ้มข้าว เกี่ยวกับไดโนเสาร์หลายครั้ง



== ผลงาน ==
== ผลงาน ==
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
วราวุธ มีบทความทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศมากมาย รวมทั้งเป็นผู้เขียนหนังสือ เรื่อง [[ไดโนเสาร์ในประเทศไทย|ไดโนเสาร์ของไทย]],2540 ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด ใช้ในการเผยแพร่ และให้ความรู้ วราวุธยังรักที่จะส่งเสริมให้เด็กสนใจในเรื่องเกี่ยวกับธรณีวิทยาและไดโนเสาร์ โดยมีการร่วมกับหน่วยงานต่างๆจัดค่ายไดโนเสาร์ เมื่อ พ.ศ.2519 นามสกุลของ วราวุธ คือสุธีธร ถูกนำไปตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติ ต่อการค้นพบของ วราวุธและทีมงาน ว่า [[สยามโมซอรัส|สยามโมซอรัส สุธีธรนิ]] (Siamosaurus suteethorni) เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของ[[ไทรันโนซอรัส เร็กส์]] หรือ [[ที-เร็กซ์]] ที่มีชีวิตอยู่ในยุค[[ครีเทเชียส]]ตอนปลาย (ประมาณ 65 ล้านปี)
วราวุธ มีบทความทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศมากมาย รวมทั้งเป็นผู้เขียนหนังสือ เรื่อง [[ไดโนเสาร์ในประเทศไทย|ไดโนเสาร์ของไทย]],2540 ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด ใช้ในการเผยแพร่ และให้ความรู้ วราวุธยังรักที่จะส่งเสริมให้เด็กสนใจในเรื่องเกี่ยวกับธรณีวิทยาและไดโนเสาร์ โดยมีการร่วมกับหน่วยงานต่างๆจัดค่ายไดโนเสาร์ เมื่อ พ.ศ.2519 นามสกุลของ วราวุธ คือสุธีธร ถูกนำไปตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติ ต่อการค้นพบของ วราวุธและทีมงาน ว่า [[สยามโมซอรัส|สยามโมซอรัส สุธีธรนิ]] (Siamosaurus suteethorni) เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของ[[ไทรันโนซอรัส เร็กส์]] หรือ [[ที-เร็กซ์]] ที่มีชีวิตอยู่ในยุค[[ครีเทเชียส]]ตอนปลาย (ประมาณ 65 ล้านปี)


[[หมวดหมู่:นักธรณีวิทยา]]
[[หมวดหมู่:นักวิชาการชาวไทย]]
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

[[Category:บุคคลไทย]]
[[Category:นักธรณีวิทยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:24, 31 พฤษภาคม 2549

วราวุธ สุธีธร เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ วราวุธ สุธีธร หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ไฟล์:V suteethorn.jpg
ดร.วราวุธ กับงานฟอสซิล

ดร. วราวุธ สุธีธร (10 ตุลาคม พ.ศ. 2491 — ) เป็นนักธรณีวิทยา ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลัง (นักไดโนเสาร์วิทยา) สังกัดสำนักงานธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วราวุธมีชื่อเล่นว่า หมู และมักจะเป็นที่รักของเด็กๆ และถูกเรียกว่า "ลุงหมู" ขวัญใจเด็กๆ เนื่องจากการเป็นนักธรณีวิทยาที่ค้นพบไดโนเสาร์หลายพันธุ์ในเขต ภูเวียง ภูกุ้มข้าว และหลาย ๆ พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วราวุธ จบธรณีวิทยา (วท.บ.) จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาชีววิทยา จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปัจจุบันยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว อ. สหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย

วราวุธ สมรสแล้ว กับนางประภัสร์พร สุธีธร (ฉ่ำเฉลิม) มีบุตร/บุตรี 3 คน คือ นาง สุธาทิพย์ (สุธีธร) กาวิเนตร, นส.ธนาสิริ สุธีธร และ นาย สุรเวช สุธีธร เข้ารับราชการที่กรมทรัพยากรธรณี เมื่อปี 2517 มีภาระกิจทำหน้าที่สำรวจและทำแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณภาคตะวันตกและอิสาน ทำให้พบกระดูกไดโนเสาร์หลายแหล่งในอิสาน จนต่อมาได้มีความร่วมมือกับคณะสำรวจชีววิทยาไทย-ฝรั่งเศส ทำการสำรวจฟอสซิลสัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศไทยในปี 2523 เป้นต้นมา อีกทั้งได้เป็นวิทยากรถวายรายงานแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ภูเวียง ภูหลวง และภูกุ้มข้าว เกี่ยวกับไดโนเสาร์หลายครั้ง

ผลงาน

ไฟล์:Siamosaurus suteethorni.jpg
ไดโนเสาร์สยามโมซอรัส สุธีธรนี

ผลงานการค้นพบของ วราวุธ ได้แก่ การค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่หลายชนิดในประเทศไทย เช่น ไดโนเสาร์ซอโรพอด ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน่, ไดโนเสาร์กินเนื้อ สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส ซึ่งเป็นบรรพบุรุษที่เก่าแก่ที่สุดของ ไทรันโนซอรัส เร็กซ์ จากอเมริกา, ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ, ไดโนเสาร์ซอโรพอดที่เก่าแก่ที่สุด อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชี, และการค้นพบฟอสซิลสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดในภาคใต้และภาคเหนือ เป็นต้น

วราวุธ มีบทความทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศมากมาย รวมทั้งเป็นผู้เขียนหนังสือ เรื่อง ไดโนเสาร์ของไทย,2540 ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด ใช้ในการเผยแพร่ และให้ความรู้ วราวุธยังรักที่จะส่งเสริมให้เด็กสนใจในเรื่องเกี่ยวกับธรณีวิทยาและไดโนเสาร์ โดยมีการร่วมกับหน่วยงานต่างๆจัดค่ายไดโนเสาร์ เมื่อ พ.ศ.2519 นามสกุลของ วราวุธ คือสุธีธร ถูกนำไปตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติ ต่อการค้นพบของ วราวุธและทีมงาน ว่า สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus suteethorni) เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของไทรันโนซอรัส เร็กส์ หรือ ที-เร็กซ์ ที่มีชีวิตอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย (ประมาณ 65 ล้านปี)