ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความคัดสรรคืออะไร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alexbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa, it, uz แก้ไข: ar, bn, sv
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เว็บย่อวิกิ|[[WP:WIAFA]], [[WP:FA?]]}}
{{เว็บย่อวิกิ|[[WP:WIAFA]], [[WP:FA?]]}}
{| style="float:right; padding:1em; border:1px solid #8888aa; background-color:#fff8f0; margin:0 0 0.5em 1em;"
{| style="float:right;"
|{{วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร/สารบัญ}}
| style="padding:1em; border:1px solid #8888aa; background-color:#fff8f0; margin:0 0 0.5em 1em;" | {{วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร/สารบัญ}}
|-
| {{หนทางสู่การเขียนบทความFA}}
|}
|}

'''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร|บทความคัดสรร]]''' มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
'''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร|บทความคัดสรร]]''' มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้


บรรทัด 30: บรรทัด 33:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
{{หนทางสู่การเขียนบทความFA}}
* [[วิกิพีเดีย:อะไรคือบทความคุณภาพ]]
* [[วิกิพีเดีย:อะไรคือบทความคุณภาพ]]
* [[วิกิพีเดีย:ความแตกต่างระหว่างบทความคัดสรรและบทความคุณภาพ]]
* [[วิกิพีเดีย:ความแตกต่างระหว่างบทความคัดสรรและบทความคุณภาพ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:40, 5 พฤษภาคม 2551

บทความคัดสรร
บทความคัดสรรประจำเดือน

หน้าที่เกี่ยวข้อง
หนทางสู่การเขียนบทความคัดสรร
  1. เริ่มเขียนบทความ
  2. ค้นคว้าและเขียนเพื่อสร้างบทความที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
  3. ตรวจสอบตามเงื่อนไข ของบทความคัดสรร
  4. เสนอชื่อเพื่อเป็นบทความคัดสรร
  5. ทำการสนับสนุน คัดค้าน อภิปราย บทความที่คุณเสนอไป
  6. หากผ่าน บทความของคุณจะเป็นบทความคัดสรร
 

บทความคัดสรร มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1. เขียนอย่างดี ในแง่:

(ก) ใช้สำนวนที่อ่านเข้าใจได้ ไวยากรณ์ถูกต้อง และโครงสร้างชัดเจนตั้งแต่อ่านครั้งแรก
(ข) มีโครงสร้างสอดคล้องกับหลักเหตุผล แนะนำหัวข้อก่อน จากนั้นจึงอธิบายหัวข้อนั้นในแง่มุมอื่นที่เกี่ยวข้อง มีส่วนนำเรื่องที่สรุปใจความสำคัญของหัวข้ออย่างกระชับ ตามความเหมาะสม ข้อความที่เหลือถูกจัดระเบียบเป็นโครงสร้างลำดับขั้น (โดยเฉพาะกรณีบทความขนาดยาว)
(ค) อธิบายศัพท์เทคนิค หรือศัพท์เฉพาะกลุ่ม (jargon) ที่จำเป็น โดยจะอธิบายในบทความนั้นเอง หรือจะทำลิงก์ไปหาบทความที่อธิบายก็ได้ (ต้องเป็นลิงก์ที่ใช้ได้จริง ไม่ใช่ "ลิงก์แดง")
(ง) มีรูปแบบการเขียนตามคู่มือการเขียน และแนวทางการเขียนบทความให้ดีขึ้น แต่อาจคลาดเคลื่อนได้หากพบว่าเหมาะสม

2. ถูกต้องเที่ยงตรง และ พิสูจน์ยืนยันได้ ในแง่:

(ก) แสดงแหล่งอ้างอิงที่มาอย่างครบถ้วน สำหรับเนื้อหาทั้งหมดในบทความ
(ข) ไม่มีส่วนใดที่เป็นงานค้นคว้าต้นฉบับ

3. อภิปรายสิ่งที่กล่าวถึงโดยละเอียด ในแง่:

(ก) กล่าวถึงแง่มุมหลักของหัวข้อนั้น
(ข) กล่าวถึงเฉพาะรายละเอียดที่จำเป็นในหัวข้อทั้งหมด

4. ทำตามนโยบายมุมมองที่เป็นกลาง ในแง่:

(ก) มุมมองถูกแสดงอย่างยุติธรรม และไม่มีอคติเอนเอียง
(ข) ทุกมุมมองที่สำคัญถูกแสดงอย่างยุติธรรมแต่ไม่ตัดสิน โดยเฉพาะในกรณีที่มีหรือเคยมีมุมมองที่ขัดแย้งในหัวข้อนั้น

5. มีเสถียรภาพ กล่าวคือ บทความนั้นจะต้องไม่เปลี่ยนแปลงไปมากในแต่ละวัน และไม่ได้กำลังอยู่ภายใต้ "สงครามแก้ไข" เกณฑ์ข้อนี้ไม่รวมถึงการก่อกวนและการป้องกันการก่อกวน หรือข้อเสนอที่จะแยก/ยุบรวมเนื้อหาในบทความ

6. ควรมีรูปภาพหรือสื่ออื่น ๆ ประกอบบทความ :

(ก) ภาพมีการกำกับสัญญาอนุญาต ระบุแหล่งที่มา และมี คำอธิบายโดยย่อ ใต้ภาพ
(ข) ภาพในบทความมีหน้าที่อธิบายบทความให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

ดูเพิ่ม