ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นรอบวง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
เมื่อ [[พาย (ค่าคงตัว)|π]] คือ[[อัตราส่วน]]ระหว่างเส้นรอบวงกับเส้นผ่านศูนย์กลาง ซึ่งมีค่าประมาณ 3.141 592 653 589 793...
เมื่อ [[พาย (ค่าคงตัว)|π]] คือ[[อัตราส่วน]]ระหว่างเส้นรอบวงกับเส้นผ่านศูนย์กลาง ซึ่งมีค่าประมาณ 3.141 592 653 589 793...


สูตรการหาความยาวของเส้นรอบวง สามารถสร้างขึ้นโดยไม่ใช้การอ้างถึงค่า π โดยใช้ความรู้ทางแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ ดังที่จะแสดงต่อไปนี้
สูตรการหาความยาวของเส้นรอบวง สามารถสร้างขึ้นโดยใช้ความรู้ทางแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ และไม่ใช้การอ้างถึงค่า π ดังที่จะแสดงต่อไปนี้


ครึ่งหนึ่งด้านบนของรูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่[[จุดกำเนิด]] คือ[[กราฟของฟังก์ชัน]] <math>f(x) = \sqrt{r^2 - x^2}</math> ซึ่ง ''x'' สามารถมีค่าได้ตั้งแต่ −''r'' ถึง +''r'' เส้นรอบวงของรูปวงกลมทั้งหมดจึงสามารถแทนได้ด้วยสองเท่าของความยาวของส่วนโค้งครึ่งวงกลม ความยาวของส่วนโค้งนั้นสามารถคำนวณได้โดยใช้[[ทฤษฎีบทพีทาโกรัส]] รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านประกอบมุมฉากเป็น <math>dx</math> และ <math>f'(x)dx</math> เราจะได้ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเป็น
ครึ่งหนึ่งด้านบนของรูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่[[จุดกำเนิด]] คือ[[กราฟของฟังก์ชัน]] <math>f(x) = \sqrt{r^2 - x^2}</math> ซึ่ง ''x'' สามารถมีค่าได้ตั้งแต่ −''r'' ถึง +''r'' เส้นรอบวงของรูปวงกลมทั้งหมดจึงสามารถแทนได้ด้วยสองเท่าของความยาวของส่วนโค้งครึ่งวงกลม ความยาวของส่วนโค้งนั้นสามารถคำนวณได้โดยใช้[[ทฤษฎีบทพีทาโกรัส]] รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านประกอบมุมฉากเป็น <math>dx</math> และ <math>f'(x)dx</math> เราจะได้ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเป็น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:46, 23 มีนาคม 2551

เส้นรอบวง = π × เส้นผ่านศูนย์กลาง

เส้นรอบวง หมายถึงระยะทางหรือความยาวรอบเส้นโค้งปิด โดยปกติจะหมายถึงรูปวงกลมหรือรูปวงรี เส้นรอบวงเป็นเส้นรอบรูป (perimeter) ประเภทหนึ่ง

รูปวงกลม

เส้นรอบวง c ของรูปวงกลม สามารถคำนวณได้จากเส้นผ่านศูนย์กลาง d โดยใช้สูตรต่อไปนี้

หรือคำนวณจากรัศมี r ของรูปวงกลม

เมื่อ π คืออัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงกับเส้นผ่านศูนย์กลาง ซึ่งมีค่าประมาณ 3.141 592 653 589 793...

สูตรการหาความยาวของเส้นรอบวง สามารถสร้างขึ้นโดยใช้ความรู้ทางแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ และไม่ใช้การอ้างถึงค่า π ดังที่จะแสดงต่อไปนี้

ครึ่งหนึ่งด้านบนของรูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด คือกราฟของฟังก์ชัน ซึ่ง x สามารถมีค่าได้ตั้งแต่ −r ถึง +r เส้นรอบวงของรูปวงกลมทั้งหมดจึงสามารถแทนได้ด้วยสองเท่าของความยาวของส่วนโค้งครึ่งวงกลม ความยาวของส่วนโค้งนั้นสามารถคำนวณได้โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านประกอบมุมฉากเป็น และ เราจะได้ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเป็น

ดังนั้น ความยาวของเส้นรอบวงจึงคำนวณได้จาก

รูปวงรี

การคำนวณเส้นรอบวงของวงรี ซับซ้อนกว่าวงกลม และเป็นอนุกรมอนันต์ (infinite series) อาจประมาณได้จากสูตรของ รามานุจัน (นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย)

เมื่อ และ คือ กึ่งแกนเอกและกึ่งแกนโท ตามลำดับ สองค่านี้มีความสัมพันธ์กันกับความเยื้องศูนย์กลางของวงรี ดังต่อไปนี้

ซึ่งแสดงว่าสามารถเขียนสูตรคำนวณเส้นรอบวงของวงรีได้ดังนี้

แหล่งข้อมูลอื่น