ข้ามไปเนื้อหา

บูพิวาเคน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บูพิวาเคน
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/bjuːˈpɪvəkn/
ชื่อทางการค้าMarcaine, Sensorcaine, Posimir, ฯลฯ
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
ช่องทางการรับยาParenteral, topical, implant
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S4 (ต้องใช้ใบสั่งยา)
  • US: ℞-only [2][3]
  • EU: Rx-only
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลn/a
การจับกับโปรตีน95%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ
ระยะเริ่มออกฤทธิ์ใน 15 นาที[4]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ3.1 ช.ม. (ผู้ใหญ่)[4]
8.1 ช.ม. (เด็กแรกเกิด)[4]
ระยะเวลาออกฤทธิ์2 ถึง 8 ช.ม.[5]
การขับออกไต, 4–10%
ตัวบ่งชี้
  • (RS)-1-Butyl-N-(2,6-dimethylphenyl)piperidine-2-carboxamide
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.048.993
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC18H28N2O
มวลต่อโมล288.435 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
จุดหลอมเหลว107 ถึง 108 องศาเซลเซียส (225 ถึง 226 องศาฟาเรนไฮต์)
  • O=C(C1N(CCCC1)CCCC)NC2=C(C)C=CC=C2C
  • InChI=1S/C18H28N2O/c1-4-5-12-20-13-7-6-11-16(20)18(21)19-17-14(2)9-8-10-15(17)3/h8-10,16H,4-7,11-13H2,1-3H3,(H,19,21) checkY
  • Key:LEBVLXFERQHONN-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

บูพิวาเคน[6] หรือ บิวพิวาเคน[7] (อักษรโรมัน: Bupivacaine) หรือชื่อการค้าเช่น มาร์เคน (Marcaine) เป็นยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่[4] ในการใช้เพื่อบล็อกเส้นประสาท จะฉีดบูพิวาเคนเข้าไปยังเส้นประสาทที่เลี้ยงบริเวณนั้น หรือเข้าไปยังพื้นที่อีพิดูรอล ซึ่งเรียกว่าแารบล็อกอีพิดูรอล[4] บิวพิวาเคนมีผลิตในรูปผสมกับอีพิเนฟรินเล็กน้อยเพื่อเพิ่มระยะเวลาออกฤทธิ์[4] ระยะเวลาเริ่มออกฤทธิ์ของยาอยู่ที่ไม่เกิน 15 นาที และออกฤทธิ์ไอ้ยาวนาน 2 ถึง 8 ชั่วโมง[4][5]

ผลข้างเคียงที่มีได้ ได้แก่ความง่วงซึม, กล้ามเนื้อกระตุก, หูอื้อ, การมองเห็นเปลี่ยน, ความดันเลือดต่ำ และการเต้นหัวใจผิดจังหวะ[4] มีข้อกังวลอยู่ว่าการฉีดยานี้เข้าข้อต่อจะทำให้เกิดปัญหากับกระดูกอ่อน[4] บูพิวาเคนจัดเป็นยาชาเฉพาะที่กลุ่มอามัยด์[4]

บูพิวาเคนค้นพบครั้งแรกในปี 1957[8] และเป็นหนึ่งในรายชื่อรายการยาหลักขององค์การอนามัยโลก[9] รวมถึงยังมีใช้เป็นยาทั่วไป[4][10]

ในทางการแพทย์ บูพิวาเคนนั้นมีข้อบ่งใช้สำหรับฉีดระงับความรู้สึกเฉพาะที่, บล็อกเส้นประสาทเพอริเฟอรอล, บล็อกเส้นประสาทซิมพาเธติก และบล็อกแบบอีพิดูรอลกับคอดอล (caudal) บางครั้งอาจใช้ร่วมกันอีพิเนฟรีนเพื่อป้องกันการดูดซึมเข้าระบบร่างกาย และช่วยเพิ่มระยะเวลาออกฤทธิ์ได้ สูตรยาแบบ 0.75% (เข้มข้นสูงสุด) นั้นมีไว้ใช้ในการบล็อกแบบเรโทรบัลบาร์[11] บูพิวาเคนถือเป็นยาชาเฉพาะที่ที่ใช้มากที่สุดในการระงับความรู้สึกทางอีพิดูรอลขณะทำการคลอด เช่นเดียวกับการควมคุมความปวดหลังการผ่าตัด[12] บูพิวาเคนสูตรลิโพโซมอล (Liposomal formulations) หรือจำหน่ายในชื่อ EXPAREL มีรายงานว่ามีประสิทธิภาพมากกว่าในการบรรเทาปวดเมื่อเทียบกับสารละลายบูพิวาเคนเปล่า ๆ[13][14]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Bupivacaine Use During Pregnancy". Drugs.com. 13 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 September 2020.
  2. "Marcaine- bupivacaine hydrochloride injection, solution Marcaine with epinephrine- bupivacaine hydrochloride and epinephrine bitartrate injection, solution". DailyMed. สืบค้นเมื่อ 13 February 2021.
  3. "Sensorcaine MPF- bupivacaine hydrochloride injection, solution". DailyMed. สืบค้นเมื่อ 13 February 2021.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 "Bupivacaine Hydrochloride". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-30. สืบค้นเมื่อ August 1, 2015.
  5. 5.0 5.1 Whimster DS (1997). Cambridge textbook of accident and emergency medicine. Cambridge: Cambridge University Press. p. 194. ISBN 9780521433792. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-05.
  6. ปฐมพร, ปิ่นอ่อน; ปัญจสวัสดิ์วงศ์, ยอดยิ่ง; เชาวน์สุวรรณ, ศิริวรรณ (2014). "การศึกษาผลของการสกัดเส้นประสาทของหนังศีรษะด้วยยาชาบูพิวาเคนความเข้มข้นร้อยละ 0.5 ต่อผลลัพธ์ระหว่างและหลังผ่าตัดสมอง: การศึกษาแบบสุ่ม ไปข้างหน้า แบบมีกลุ่มควบคุมและบดบังวิธีการศึกษาต่อผู้ป่วยและผู้ประเมินผลการวิจัย". วิสัญญีสาร. 40 (3): 193–204. สืบค้นเมื่อ 2023-06-11.
  7. ชินะโชติ, ฐิติมา; เหลืองนทีเทพ, อังคณา; รักษาเกียรติศักดิ์, มานี (2012). "การฉีดบิวพิวาเคน 0.25% ในบริเวณ periarticular สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการระงับปวดภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าในผู้ป่วยที่ได้รับการฉีดยาขัดขวางการทำงานของเส้นประสาทฟีเมอรัลและการฉีดมอร์ฟีนเข้าในช่องไขสันหลัง". วารสารจดหมายเหตุทางการแพทย์. 95 (12): 1536–1542. สืบค้นเมื่อ 2023-06-11.
  8. Egan TD (2013). Pharmacology and physiology for anesthesia : foundations and clinical application. Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders. p. 291. ISBN 9781437716795. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-12.
  9. World Health Organization (2021). World Health Organization model list of essential medicines: 22nd list (2021). Geneva: World Health Organization. hdl:10665/345533. WHO/MHP/HPS/EML/2021.02.
  10. Hamilton R (2015). Tarascon Pocket Pharmacopoeia 2015 Deluxe Lab-Coat Edition. Jones & Bartlett Learning. p. 22. ISBN 9781284057560.
  11. Lexicomp. "Bupivacaine (Lexi-Drugs)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-10. สืบค้นเมื่อ 20 April 2014.
  12. Miller RD (November 2, 2006). Basics of Anesthesia. Churchill Livingstone.
  13. Ma TT, Wang YH, Jiang YF, Peng CB, Yan C, Liu ZG, Xu WX (June 2017). "Liposomal bupivacaine versus traditional bupivacaine for pain control after total hip arthroplasty: A meta-analysis". Medicine. 96 (25): e7190. doi:10.1097/MD.0000000000007190. PMC 5484209. PMID 28640101.
  14. Mont MA, Beaver WB, Dysart SH, Barrington JW, Del Gaizo DJ (January 2018). "Local Infiltration Analgesia With Liposomal Bupivacaine Improves Pain Scores and Reduces Opioid Use After Total Knee Arthroplasty: Results of a Randomized Controlled Trial". The Journal of Arthroplasty. 33 (1): 90–96. doi:10.1016/j.arth.2017.07.024. PMID 28802777.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • "Bupivacaine". Drug Information Portal. U.S. National Library of Medicine.