ข้ามไปเนื้อหา

กลุ่มอาการเม็ดเลือดแดงแตก-ยูรีเมีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กลุ่มอาการเม็ดเลือดแดงแตก-ยูรีเมีย
(Hemolytic-uremic syndrome)
ชื่ออื่นHaemolytic–uraemic syndrome, thrombocytopenia and microangiopathic hemolytic anemia associated with distorted erythrocytes
Schistocytes as seen in a person with hemolytic–uremic syndrome
สาขาวิชาPediatrics, nephrology
อาการEarly: Bloody diarrhea, vomiting, fever Later: Low platelets, low red blood cells, kidney failure[1]
ภาวะแทรกซ้อนNeurological problems, heart failure[1]
ประเภทShiga toxin–producing E. coli HUS (STEC HUS),
S. pneumoniae-associated HUS (SP-HUS),
Atypical hemolytic uremic syndrome (aHUS),
Cobalamin C HUS[1]
สาเหตุInfection by E coli O157:H7, shigella, salmonella[2]
ปัจจัยเสี่ยงYounger age, female[1]
วิธีวินิจฉัยBlood tests, stool tests[3]
โรคอื่นที่คล้ายกันThrombotic thrombocytopenic purpura (TTP), disseminated intravascular coagulation (DIC), artificial heart valve[4]
การรักษาSupportive care, dialysis, steroids, blood transfusions, plasmapheresis[2][1]
พยากรณ์โรค<25% long-term kidney problems[1]
ความชุก1.5 per 100,000 per year[5]
การเสียชีวิต<5% risk of death[1]

กลุ่มอาการเม็ดเลือดแดงแตก-ยูรีเมีย (อังกฤษ: Hemolytic-uremic syndrome, HUS) เป็นโรคซึ่งทำให้มีการแตกของเม็ดเลือดแดง ไตวายเฉียบพลัน (ทำให้มีของเสียคั่งในเลือด หรือ ยูรีเมีย) และเกล็ดเลือดต่ำ ส่วนใหญ่พบในเด็ก แต่ก็สามารถพบในผู้ใหญ่ได้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการท้องเสียที่เกิดจาก E. coli O157:H7 นำมาก่อน ซึ่งมักติดจากการกินอาหาร ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มีอัตราตาย 5-10% ผู้ป่วยที่รอดชีวิตส่วนใหญ่จะหายจากโรคโดยไม่มีภาวะแทรกซ้อนติดตัว แต่ส่วนหนึ่งอาจเกิดมีไตวายเรื้อรังจนจำเป็นต้องได้รับการรักษาต่อเนื่องได้[6] โรคนี้ได้รับการอธิบายครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1955 [7][8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Cod2019
  2. 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GARD2018
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Sal2013
  4. Ferri, Fred F. (2010). Ferri's Differential Diagnosis E-Book: A Practical Guide to the Differential Diagnosis of Symptoms, Signs, and Clinical Disorders (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 219. ISBN 978-0323081634.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Noris2009
  6. Corrigan JJ, Boineau FG (2001). "Hemolytic-uremic syndrome". Pediatr Rev. 22 (11): 365–9. PMID 11691946.
  7. Anagnou NP, Papanicolaou N, Fessas P (1991). "Recurrent attacks of hemolytic uremic syndrome". Haematologia (Budap). 24 (2): 101–5. PMID 1816053.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  8. GAsser C, Gautier E, Steck A, Siebenmann RE, Oechslin R (1955). "Hemolytic-uremic syndrome: bilateral necrosis of the renal cortex in acute acquired hemolytic anemia". Schweiz Med Wochenschr (ภาษาเยอรมัน). 85 (38–39): 905–9. PMID 13274004.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก