ท้องมาน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Ascites)
ท้องมาน | |
---|---|
ชื่ออื่น | Peritoneal cavity fluid, peritoneal fluid excess, hydroperitoneum, abdominal dropsy[1] |
ช่องท้องของผู้ป่วยตับแข็งเรื้อรังจนแสดงอาการท้องมานและเส้นเลือดดำแสดงให้เห็นชัด | |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา | วิทยาทางเดินอาหาร |
อาการ | ขนาดท้องที่ใหญ่ขึ้น, น้ำหนักตัวเพิ่ม, รู้สึกไม่สบายในท้อง, หายใจลำบาก[3] |
ภาวะแทรกซ้อน | การติดเชื้อแบคทีเรียเองที่เพริทอเนียล, โรคตับและไต, โซเดียมในเลือดต่ำ[3][4] |
สาเหตุ | ตับแข็ง, มะเร็ง, หัวใจล้มเหลว, วัณโรค, ตับอ่อนอักเสบ, หลอดเลือดดำตับอุดตัน[4] |
วิธีวินิจฉัย | ตรวจร่างกาย, อัลตราซาวด์, ซีทีสแกน[3] |
การรักษา | บริโภคอาหารเกลือต่ำ, ทานยา, เจาะเอาน้ำออก[3] |
ยา | สไปโรโนแลกโตน, ฟูรอเซไมด์[3] |
ความชุก | >50% ของผู้ป่วยตับแข็ง[4] |
ท้องมาน หรือ ท้องบวม (อังกฤษ: Ascites) เป็นการสะสมของของเหลวมากผิดปกติในช่องท้อง[1] ทางเทคนิกแล้วหมายถึงของเหลวมากกว่า 25 มิลลิลิตรในช่องเพอริโตเนียล แต่อาจพบได้สูงถึงหนึ่งลิตร[4] อาการแสดงอาจประกอบด้วยขนาดท้องโต, น้ำหนักตัวเพิ่ม, รู้สึกแน่นท้อง และหายใจลำบาก[3] อาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดได้ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรียเองของเพริทอเนียล[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Ascites". National Library of Medicine. สืบค้นเมื่อ 14 December 2017.
- ↑ "Ascites | Definition of Ascites by Lexico". Lexico Dictionaries | English (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-25. สืบค้นเมื่อ 26 October 2019.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 "Ascites - Hepatic and Biliary Disorders". Merck Manuals Professional Edition (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). May 2016. สืบค้นเมื่อ 14 December 2017.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 Pedersen, JS; Bendtsen, F; Møller, S (May 2015). "Management of cirrhotic ascites". Therapeutic Advances in Chronic Disease. 6 (3): 124–37. doi:10.1177/2040622315580069. PMC 4416972. PMID 25954497.