ข้ามไปเนื้อหา

ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทยูเครน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทยูเครน
Reichskommissariat Ukraine

1941–1944
ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทยูเครนใน ค.ศ. 1942
ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทยูเครนใน ค.ศ. 1942
สถานะไรชส์ค็อมมิสซารีอาทของเยอรมนี
เมืองหลวงรอฟโน
ภาษาทั่วไปเยอรมัน (ทางการ)
ยูเครน · รัสเซีย · โปแลนด์ · ตาตาร์ไครเมีย
การปกครองอาณานิคมของนาซีเยอรมนี[1]
ไรชส์ค็อมมิสซาร์ 
• 1941–1944
เอริช ค็อค
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่สอง
22 มิถุนายน 1941
• ก่อตั้ง
20 สิงหาคม 1941
• การบริหารโดยพลเรือน
1 กันยายน 1941
• กลายเป็นส่วนหนึ่งของ Generalbezirk Weißruthenien
25 กุมภาพันธ์ 1944
• สิ้นสุดอย่างเป็นทางการ
10 พฤศจิกายน 1944
พื้นที่
• รวม
340,000 ตารางกิโลเมตร (130,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1941
37,000,000
สกุลเงินKarbovanets
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
รัฐบาลแห่งชาติยูเครน (ค.ศ. 1941)
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน
รัสเซีย (พิพาท)
โปแลนด์
เบลารุส

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทในยูเครน (เยอรมัน: Reichskommissariat Ukraine, RKU) เป็นหน่วยการปกครองของนาซีเยอรมนีในพื้นที่ส่วนใหญ่ของยูเครน บางส่วนของเบลารุสและโปแลนด์ งานของไรชส์ค็อมมิสซารีอาทคือการทำให้พื้นที่สงบและการแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรและประชาชนในพื้นที่ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ออกกฤษฎีกาฟือเรอร์เพื่อกำหนดการปกครองดินแดนตะวันออกที่เพิ่งถูกยึดครองในวันที่ 17 กรกฎาคม 1941

ก่อนการรุกรานของเยอรมนี ยูเครนเป็นสาธารณรัฐองค์ประกอบของสหภาพโซเวียต มีผู้อาศัยได้แก่ชาวยูเครนร่วมกับชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซีย ชาวโปแลนด์ ชาวยิว ชาวเบลารุส ชาวเยอรมัน ชาวโรมานี (ยิปซี) และตาตาร์ไครเมีย พื้นที่นี้เป็นประเด็นสำคัญในการวางแผนของนาซีสำหรับการขยายตัวหลังสงครามของรัฐเยอรมัน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  1. "Reichskommissariat Ukraine". www.encyclopediaofukraine.com. สืบค้นเมื่อ 2020-03-03. A German colony, the RKU constituted an important part of Adolf Hitler's Lebensraum and was completely deprived of autonomy or international status. Nazi plans called for the postwar unification of the RKU with the territory of the German Reich; most Ukrainians (considered unfit for Germanization) were to be resettled beyond the Urals to make room for German colonists. In fact Hitler was unable to inspire many Germans to colonize Ukraine. Despite ambitious plans only a few villages were cleared of their Ukrainian inhabitants and populated with Germans (both groups were resettled under duress). Those experiments were profoundly resented by the local population, which saw them as portents of German postwar intentions. Resettlement was also prevented by the German retreat and then by the formal liquidation of the RKU on 10 November 1944.