ไนตริกออกไซด์
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
ไนโตรเจนมอนอกไซด์[1]
| |||
Systematic IUPAC name
Oxidonitrogen(•)[2] (additive) | |||
ชื่ออื่น
Nitrogen oxide
Nitrogen(II) oxide Oxonitrogen Nitrogen monoxide | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
3DMet | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.030.233 | ||
EC Number |
| ||
451 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 1660 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
NO | |||
มวลโมเลกุล | 30.006 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | แก๊สไม่มีสี | ||
ความหนาแน่น | 1.3402 g/L | ||
จุดหลอมเหลว | −164 องศาเซลเซียส (−263 องศาฟาเรนไฮต์; 109 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | −152 องศาเซลเซียส (−242 องศาฟาเรนไฮต์; 121 เคลวิน) | ||
0.0098 g / 100 ml (0 °C) 0.0056 g / 100 ml (20 °C) | |||
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.0002697 | ||
โครงสร้าง | |||
linear (point group C∞v) | |||
อุณหเคมี | |||
Std molar
entropy (S⦵298) |
210.76 J/(K·mol) | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
90.29 kJ/mol | ||
เภสัชวิทยา | |||
R07AX01 (WHO) | |||
ข้อมูลใบอนุญาต | |||
การสูดดม | |||
เภสัชจลนศาสตร์: | |||
good | |||
ผ่านทางหลอดเลือดฝอยในปอด | |||
2–6 วินาที | |||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
| ||
GHS labelling: | |||
[3][4] | |||
อันตราย | |||
H270, H280, H314, H330[3][4] | |||
P220, P244, P260, P280, P303+P361+P353+P315, P304+P340+P315, P305+P351+P338+P315, P370+P376, P403, P405[3][4] | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LC50 (median concentration)
|
315 ppm (rabbit, 15 min) 854 ppm (rat, 4 h) 2500 ppm (mouse, 12 min)[5] | ||
LCLo (lowest published)
|
320 ppm (mouse)[5] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | External SDS | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
ไนโตรเจนออกไซด์ที่เกี่ยวข้อง
|
ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์ ไดไนโตรเจน เทโตรไซด์ | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไนตริกออกไซด์ (Nitric oxide; NO หรือ ไนโตรเจนออกไซด์ หรือ ไนโตรเจนมอนอกไซด์[1]) เป็นโมเลกุลที่มีสูตรทางเคมีคือ NO เป็นอนุมูลอิสระ[6] ที่อยู่ในรูปของก๊าซ สามารถเคลื่อนที่ได้ดีในเซลล์ ทั้งบริเวณที่ชอบน้ำและไม่ชอบน้ำ และมีความสำคัญในทางอุตสาหกรรม ไนตริกออกไซด์เป็นผลพลอยได้ของการเผาไหม้สารอินทรีย์ในบริเวณที่มีอากาศ เช่นเครื่องยนต์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และเกิดขึ้นตามธรรมชาติระหว่างการเกิดฟ้าผ่า พืชสามารถสังเคราะห์ NO ขึ้นได้โดยวิถีกระบวนการสร้างและสลายที่ใช้อาร์จินีน หรือไนไตรต์ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องที่สำคัญในพืช ได้แก่ nitrate reductase (NR) ซึ่งเปลี่ยนไนไตรต์เป็น NO โดยมีโมลิบดินัมเป็นโคแฟกเตอร์ เอนไซม์อีกตัวหนึ่งที่เกี่ยวข้องคือ xanthine oxidoreductase ซึ่งมีโมลิบดินัมและโคบอลต์เป็นองค์ประกอบด้วย [7]
ผลต่อพืช
[แก้]NO เป็นพิษต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงและระดับของคลอโรฟิลล์ในพืช ต่อมาจึงพบว่า NO มีผลต่อการส่งสัญญาณในพืช ซึ่ง NO จะกระตุ้นผ่านตัวส่งสัญญาณตัวที่สอง เช่น cAMP และ CADPR ดังเช่นการกระตุ้นให้มีการเพิ่มระดับของแคลเซียมในเซลล์ยาสูบในสภาวะที่มีแรงดันออสโมติกสูง [7] เมื่อพืชได้รับแรงกดดันทั้งจากสิ่งที่มีและไม่มีชีวิต จะกระตุ้นการสร้าง NO ขึ้นผ่านทางวิถีไนไตรต์หรือวิถีอาร์จินีน NO ที่เกิดขึ้นจะทำงานได้สองทาง ทางหนึ่งไปกระตุ้นตัวส่งสัญญาณตัวที่สอง cGMP/cADPR ซึ่งจะไปกระตุ้นช่องผ่านเข้าออกของแคลเซียมเพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมอิสระภายในเซลล์ หรือผ่านกระบวนการอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ cGMP เช่นการกระตุ้นด้วยไนโตรเจนปฏิกิริยา (Reactive nitrogen species; RNS) ผลจากการกระตุ้นดังกล่าวนี้จะไปมีผลต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้อง และสุดท้ายจะส่งผลต่อการทำงานของกรดแอบไซซิก กรดซาลิไซลิก กรดจัสโมนิก และเอทิลีน [7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Nomenclature of Inorganic Chemistry, IUPAC Recommendations (PDF). International Union of Pure and Applied Chemistry. 2005. p. 69.
- ↑ "Nitric Oxide (CHEBI:16480)". Chemical Entities of Biological Interest (ChEBI). UK: European Bioinformatics Institute.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Nitrogen monoxide - Registration Dossier - ECHA". สืบค้นเมื่อ 2020-11-02.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 "Safety Data Sheet - Nitric Oxide, compressed - Registration Dossier" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2020-11-02.
- ↑ 5.0 5.1 "Nitric oxide". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Principles and Applications of ESR Spectroscopy, Anders Lund,Masaru Shiotani,Shigetaka Shimada 2010
- ↑ 7.0 7.1 7.2 Arasimowicz, M., and Floryszak-Wieczorek, J. 2007. Nitric acid as a bioactive signailing molecule in plant stress responses. Plant Science. 172, 876 – 887
อ่านเพิ่มเติม
- Butler A. and Nicholson R.; "Life, death and NO." Cambridge 2003. ISBN 978-0-85404-686-7.
- van Faassen, E. E.; Vanin, A. F. (eds); "Radicals for life: The various forms of Nitric Oxide." Elsevier, Amsterdam 2007. ISBN 978-0-444-52236-8.
- Ignarro, L. J. (ed.); "Nitric oxide:biology and pathobiology." Academic Press, San Diego 2000. ISBN 0-12-370420-0.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- International Chemical Safety Card 1311
- "Nitric oxide and its role in health and diabetes". 21 October 2015.
- Microscale Gas Chemistry: Experiments with Nitrogen Oxides
- Your Brain Boots Up Like a Computer – new insights about the biological role of nitric oxide.
- Assessing The Potential of Nitric Oxide in the Diabetic Foot
- New Discoveries About Nitric Oxide Can Provide Drugs For Schizophrenia
- Nitric Oxide at the Chemical Database
- "Immediately Dangerous to Life or Health Concentrations (IDLH): Nitric oxide". National Institute for Occupational Safety and Health. 2 November 2018.