ข้ามไปเนื้อหา

แนคแซท 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แนคแซท 2
KNACKSAT-2 in clean room
ประเภทภารกิจดาวเทียมสาธิตเทคโนโลยี
ผู้ดำเนินการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เว็บไซต์KNACKSAT
ข้อมูลยานอวกาศ
ชนิดยานอวกาศดาวเทียมขนาดเล็ก
ขนาด30 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร x 11.4 เซนติเมตร
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นภายในปี 2567 [1]
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์
ระบบวงโคจรวงโคจรต่ำของโลก
ระดับความสูง~400 กม.
อุปกรณ์ส่งสัญญาณ
ย่านความถี่ยูเอชเอฟ
ความถี่435.635 MHz Downlink
 

แนคแซท 2 (อังกฤษ: KMUTNB Academic Challenge of Knowledge Satellite 2; KNACKSAT-2) เป็นดาวเทียมขนาดเล็กดวงที่สามของประเทศไทยที่สร้างโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นดาวเทียมรูปแบบคิวแซทรูปแบบ ride sharing โดยแต่ละ Payload จะร่วมออกค่าใช้จายในการพัฒนาดาวเทียมและการส่งดาวเที่ยมขึ้นวงโคจร[2]

วัตถุประสงค์

[แก้]

เพื่อสนับสนุนหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ประโยชน์จากห้วงอวกาศให้สามารถเข้าถึงอวกาศได้ง่ายขึ้นโดยใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

เพย์โหลดของดาวเทียม

[แก้]
  1. บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด
  2. สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โครงการ PMU-B [3][4]
  3. มหาวิทยาลัยพะเยา
  4. มหาวิทยาลัย Universiti Teknologi MARA (UiTM) ประเทศมาเลเซีย
  5. มหาวิทยาลัย University of Perpetual Help System Dalta (UPHSD) ประเทศฟิลิปปินส์
  6. โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ โครงการKNACKSAT 2 TGPS [5]
  7. ศูนย์วิจัยระบบราง มจพ[6]

ดาวเทียม

[แก้]

ดาวเทียมรูปแบบ 3U คิวแซท (3U CubeSat) มีขนาด 30 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักไม่เกิน 200 กิโลกรัม โดยแผนการปล่อย จะปล่อยจากอุปกรณ์ปล่อยดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรประเภท วงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์จากสถานีอวกาศนานาชาติ ในระดับความสูง 400 กิโลเมตร

อ้างอิง

[แก้]
  1. https://www.facebook.com/watch/?v=840943564158199
  2. "ดาวเทียม KnackSat". kmutnb.ac.th. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
  3. https://www.facebook.com/spacefight.th
  4. https://spaceth.co/thai-space-2022/
  5. https://www.facebook.com/TGPSkmutnb
  6. https://www.thairath.co.th/news/local/2732184?fbclid=IwAR1caa0rVpDlkbZ4T7bgP1Qu9d9IiW1rPC9IxcZyAg6tpQ_KUEF8E4Eql3c