ข้ามไปเนื้อหา

เดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ ฤดูกาล 2020
เยอรมัน ซูเพอร์คัพ
อัลลีอันทซ์อาเรนา ในเมืองมิวนิก สนามแข่งขันในนัดนี้
รายการเดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ
วันที่30 กันยายน ค.ศ. 2020 (2020-09-30)
สนามอัลลีอันทซ์อาเรนา, มิวนิก
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
โยชัว คิมมิช (ไบเอิร์นมิวนิก)[1]
ผู้ตัดสินบีบีอานา ชไตน์เฮาส์ (ลังเงินฮาเกิน)[2]
ผู้ชม0[note 1]
2019
2021

เดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ ฤดูกาล 2020 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพครั้งที่ 11 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีระหว่างทีมชนะเลิศบุนเดิสลีกาและเดเอ็ฟเบ-โพคาลในฤดูกาลก่อนหน้า ไบเอิร์นมิวนิกพบกับโบรุสซีอาดอร์ทมุนด์ รองแชมป์บุนเดิสลีกา แข่งขันกันในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 2020[4]

การแข่งขันมีกำหนดเดิมที่จะแข่งขันในเดือนกรกฎาคมหรือสิงหาคม ก่อนเปิดฤดูกาลบุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2020–21 แต่การระบาดทั่วของโควิด-19 ทำให้บุนเดิสลีกาถูกเลื่อนไปเปิดฤดูกาลในเดือนกันยายน ค.ศ. 2020[5] ด้วยเหตุผลเกี่ยวกับมาตรการป้องกันการระบาดของโควิด-19 การแข่งขันนัดนี้จึงไม่มีผู้เข้าชมในสนามอัลลีอันทซ์อาเรนา เมืองมิวนิก[6]

ไบเอิร์นมิวนิกได้เข้าแข่งขันจากการคว้าแชมป์บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2019–20 และเดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 เนื่องด้วยไบเอิร์นชนะเลิศทั้งสองรายการ ทำให้ โบรุสซีอาดอร์ทมุนด์ได้เข้าแข่งขันแทนในฐานะรองแชมป์บุนเดิสลีกา[7]

การแข่งขันนัดนี้มีบีบีอานา ชไตน์เฮาส์ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ผู้ตัดสินหญิงได้รับเลือกให้ทำหน้าที่ในการแข่งขัน และยังเป็นการตัดสินครั้งสุดท้ายในอาชีพของเขาอีกด้วย ไบเอิร์นมิวนิกชนะการแข่งขันในนัดนี้ด้วยคะแนน 3–2 นับเป็นแชมป์ซูเปอร์คัพครั้งที่แปดของสโมสร[2][8]

ทีม

[แก้]

ในตารางนี้ ห้วข้อ การเข้ารอบก่อนหน้านี้ หมายถึงเฉพาะการเข้าแข่งขันภายใต้ชื่อ เดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ เท่านั้น

ทีม เข้ารอบจาก การเข้ารอบก่อนหน้านี้ (ตัวหนา หมายถึงชนะเลิศ)
ไบเอิร์นมิวนิก ชนะเลิศ บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2019–20 และเดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 13 (1987, 1989, 1990, 1994, 2010, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019)
โบรุสซีอาดอร์ทมุนด์ รองชนะเลิศ บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2019–20 10 (1989, 1995, 1996, 2011, 2012, 2013, 2014, 2016, 2017, 2019)

สนามแข่งขัน

[แก้]

การแข่งขันเกิดขึ้นที่สนามอัลลีอันทซ์อาเรนาซึ่งเป็นสนามเหย้าของไบเอิร์นมิวนิก เป็นปีแรกที่มีการเปลี่ยนแปลงกติกาโดยให้แชมป์บุนเดสลีกาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแทนแชมป์เดเอ็ฟเบ-โพคาลหรือทีมรองชนะเลิศจากบุนเดสลีกาในกรณีที่อีกทีมหนึ่งชนะเลิศทั้งสองรายการ[3] โดยเป็นครั้งที่สองที่จัดที่สนามแห่งนี้ โดยก่อนหน้านี้เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2012) และเป็นครั้งที่สามที่แข่งขันในเมืองมิวนิก (นอกจากนี้เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1994 ที่โอลึมพีอาชตาดีอ็อน)

การแข่งขัน

[แก้]

รายละเอียด

[แก้]
ไบเอิร์นมิวนิก3–2โบรุสซีอาดอร์ทมุนด์
รายงาน
ไบเอิร์นมิวนิก
ดอร์ทมุนด์
GK 1 เยอรมนี มานูเอ็ล น็อยเออร์ (กัปตัน)
RB 5 ฝรั่งเศส แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์ Substituted off in the 76th นาที 76'
CB 4 เยอรมนี นิคคลัส ซือเลอ
CB 21 ฝรั่งเศส ลูกัส แอร์น็องแดซ โดนใบเหลือง ใน 66th นาที 66'
LB 19 แคนาดา อัลฟอนโซ เดวีส์
CM 6 เยอรมนี โยชัว คิมมิช
CM 8 สเปน ฆาบิ มาร์ติเนซ Substituted off in the 84th นาที 84'
CM 24 ฝรั่งเศส กอร็องแต็ง ตอลีโซ
RW 25 เยอรมนี มึลเลอร์
CF 9 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี Substituted off in the 83rd นาที 83'
LW 29 ฝรั่งเศส กีงส์แล กอมาน Substituted off in the 54th นาที 54'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 35 เยอรมนี อเล็คซันเดอร์ นือเบิล
DF 17 เยอรมนี เฌโรม โบอาเท็ง
DF 27 ออสเตรีย ดาวิด อาลาบา
DF 41 สหรัฐ คริส ริชาดส์ Substituted on in the 76th minute 76'
MF 7 เยอรมนี แซร์ช กนาบรี Substituted on in the 54th minute 54'
MF 30 เยอรมนี อาดรีอาน ไฟน์
MF 40 เยอรมนี มาลิค ทิลมัน
MF 42 อังกฤษ จามาล มูเซียลา Substituted on in the 84th minute 84'
FW 14 เนเธอร์แลนด์ โยชัว ซีร์กเซ Substituted on in the 83rd minute 83'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี ฮันส์-ดีเทอร์ ฟลิค
GK 35 สวิตเซอร์แลนด์ มาร์วีน ฮิทซ์
CB 23 เยอรมนี แอมแร จัน
CB 15 เยอรมนี มัทซ์ ฮุมเมิลส์ Substituted off in the 76th นาที 76'
CB 16 สวิตเซอร์แลนด์ มานูเอ็ล อาคันจี
RM 24 เบลเยียม ตอมา เมอนีเย Substituted off in the 67th นาที 67'
CM 6 เดนมาร์ก โทมัส เดลานีย์
CM 8 เยอรมนี มะห์มูด ดาวูด
LM 30 เยอรมนี เฟลิคส์ พัสลัค
RW 11 เยอรมนี มาร์โค ร็อยส์ (กัปตัน) Substituted off in the 72nd นาที 72'
CF 9 นอร์เวย์ อาลิง โฮลัน Substituted off in the 68th นาที 68'
LW 19 เยอรมนี ยูลีอาน บรันท์ Substituted off in the 76th นาที 76'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 40 เยอรมนี สเตฟาน เดอร์ลิยาชา
DF 13 โปรตุเกส ราฟาแอล กึไรรู
DF 14 เยอรมนี นีโค ชุลทซ์ Substituted on in the 67th minute 67'
DF 26 โปแลนด์ วูกัช ปิชต์แชก Substituted on in the 76th minute 76'
MF 20 บราซิล เรย์นีแยร์ Substituted on in the 68th minute 68'
MF 22 อังกฤษ จูด เบลลิงแฮม Substituted on in the 76th minute 76'
MF 27 เยอรมนี มารีอุส ว็อล์ฟ
MF 28 เบลเยียม อักแซล วิตแซล
MF 32 สหรัฐ จีโอวานนี เรย์นา Substituted on in the 72nd minute 72'
ผู้จัดการทีม:
สวิตเซอร์แลนด์ ลูว์เซียง ฟาฟวร์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
โยชัว คิมมิช (ไบเอิร์นมิวนิก)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
มาร์เซ็ล อุงเงอร์ (ฮัลเลอ)
โทมัส ชไตน์ (ไวเบิร์สบรุน)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
ฮาร์ม อ็อสเมิร์ส (ฮันโนเวอร์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
ซาชา ชเตเกอมัน (นีเดอร์คัสเซิล)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
เฟรเดอริค อัสมูท (โคโลญ)

กติกาการแข่งขัน[9][10]

  • แข่งขัน 90 นาทีในเวลาปกติ
  • ดวลลูกโทษ ทันทีหากเสมอกันในเวลาปกติ
  • สามารถใส่ชื่อตัวสำรองได้ 9 คน และเปลี่ยนตัวลงเล่นได้ 5 คน[note 2]

ดูเพิ่ม

[แก้]

บันทึก

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ไม่อนุญาตให้มีผู้ชมในสนามเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี[3]
  2. แต่ละทีมได้รับโอกาสในการเปลี่ยนตัวสามครั้งโดยไม่รวมการเปลี่ยนตัวในช่วงพักครึ่งเวลา

อ้างอิง

[แก้]
  1. "3:2 – Der FC Bayern München gewinnt den Supercup gegen Borussia Dortmund" [3–2: FC Bayern Munich wins the Supercup against Borussia Dortmund]. Bundesliga (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 30 กันยายน 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2020.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Steinhaus pfeift Supercup Bayern gegen BVB" [Steinhaus officiates Supercup Bayern against BVB]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 30 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2020.
  3. 3.0 3.1 "Wegen Corona-Lage: Supercup in München ohne Zuschauer" [Due to Corona situation: Supercup in Munich without spectators]. Bayerischer Rundfunk (ภาษาเยอรมัน). 28 กันยายน 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2020. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2020.
  4. "Bundesliga | Saison 2020/2021: Spieltage 1 bis 8" [Bundesliga | 2020–21 season: Matchday 1 to 8] (PDF). DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 21 สิงหาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2020.
  5. "Neuer Rahmenterminkalender für Saison 2020/21 veröffentlicht – Bundesliga und 2. Bundesliga starten am 18. September" [New schedule for the 2020/21 season published – Bundesliga and 2. Bundesliga start on 18 September]. DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 10 กรกฎาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2020.
  6. "Saison 2020/21: DFL veröffentlicht Spielpläne der Bundesliga und 2. Bundesliga" [2020–21 season: DFL publishes Bundesliga and 2. Bundesliga match schedules]. DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 7 สิงหาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2020.
  7. "Saison 2020/21: DFL veröffentlicht Spielpläne der Bundesliga und 2. Bundesliga" [2020–21 season: DFL publishes Bundesliga and 2. Bundesliga match schedules]. DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 7 สิงหาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2020.
  8. "Bayern Munich 3-2 Borussia Dortmund: Kimmich delivers Supercup for Flick's men". Goal.com. 1 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2020.
  9. "Spielordnung (SpOL)" [Match rules] (PDF). DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 16 พฤษภาคม 2020. p. 3. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2020. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2020.
  10. "Beschluss der DFL-Mitgliederversammlung: Medizinisch-hygienisches Konzept wird statuarisch verankert" [Resolution of the DFL General Assembly: Medical hygiene concept to be incorporated into the statutes]. DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 3 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]