เจี่ย ชิ่งหลิน
เจี่ย ชิ่งหลิน | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
贾庆林 | |||||||||||
ประธานสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน คนที่ 7 | |||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 14 มีนาคม พ.ศ. 2546 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 (9 ปี 362 วัน) | |||||||||||
รอง | หวัง กัง | ||||||||||
เลขาธิการใหญ่ | หู จิ่นเทา | ||||||||||
ก่อนหน้า | หลี่ รุ่ยหวน | ||||||||||
ถัดไป | ยฺหวี เจิ้งเชิง | ||||||||||
เลขาธิการคณะกรรมาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ประจำกรุงปักกิ่ง | |||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 25 สิงหาคม พ.ศ. 2540 – 22 ตุลาคม พ.ศ. 2545 (5 ปี 58 วัน) | |||||||||||
ก่อนหน้า | เว่ย์ เจี้ยนสิง | ||||||||||
ถัดไป | หลิว ฉี | ||||||||||
เลขาธิการคณะกรรมาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ประจำมณฑลฝูเจี้ยน | |||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 30 ธันวาคม พ.ศ. 2536 – 28 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (2 ปี 303 วัน) | |||||||||||
ก่อนหน้า | เฉิน กวงอี้ | ||||||||||
ถัดไป | เฉิน หมิงอี้ | ||||||||||
ข้อมูลส่วนบุคคล | |||||||||||
เกิด | 13 มีนาคม พ.ศ. 2483 ปั๋วโถว มณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐจีน | ||||||||||
พรรคการเมือง | พรรคคอมมิวนิสต์จีน | ||||||||||
คู่สมรส | หลิน โย่วฟาง | ||||||||||
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเหอเป่ย์ | ||||||||||
วิชาชีพ | วิศวกรไฟฟา | ||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 賈慶林 | ||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 贾庆林 | ||||||||||
| |||||||||||
เจี่ย ชิ่งหลิน (จีนตัวย่อ: 贾庆林; จีนตัวเต็ม: 賈慶林; พินอิน: Jiǎ Qìnglín; เกิด 13 มีนาคม พ.ศ. 2483) เป็นอดีตนักการเมืองชาวจีน เป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการประจำกรมการเมืองแห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพรรคระหว่างปี พ.ศ. 2545–2555 และประธานคณะกรรมการแห่งชาติของสภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีนระหว่างปี พ.ศ. 2546–2556 [1] หน้าที่ของเจี่ยในฐานะหัวหน้าคณะนิติบัญญัติมีลักษณะเป็นพิธีการเสียส่วนใหญ่
เจี่ยเริ่มต้นอาชีพทางการเมืองของเขาในมณฑลฝูเจี้ยนในปี พ.ศ. 2528 ที่นั่น เขาได้ไต่เต้าขึ้นมาอย่างมั่นคงในระดับต่าง ๆ และเป็นผู้นำมณฑลในช่วงเรื่องอื้อฉาวยฺเหวี่ยน-หฺวา ในปี พ.ศ. 2539 เจี่ยถูกย้ายไปเป็นนายกเทศมนตรีกรุงปักกิ่ง จากนั้นได้กลายเป็นเลขาธิการพรรคประจำปักกิ่ง [2] สาเหตุหลักมาจากความสัมพันธ์ในอุปถัมภ์ของเลขาธิการใหญ่เจียง เจ๋อหมิน เจี่ยได้รับการเลื่อนตำแหน่งเป็นคณะกรมการเมืองในปี พ.ศ. 2540 และยังคงเป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มชนชั้นสูงทางการเมืองของจีนในอีก 15 ปีข้างหน้า[3] เขาเกษียณในปี พ.ศ. 2556 [4]
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในระดับชาติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ครอบครัว
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Michael Sainsbury (10 March 2011). "JULIA Gillard will meet the implications of China's military rise head-on in her first visit to Beijing as Prime Minister next month". The Australian.
- ↑ "People's Daily Online". People's Daily. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
- ↑ "Tainted by scandal, China's Jia faces test". Reuters. 15 October 2007.
- ↑ "Who's Who in China's Leadership". China.org.cn. 23 October 2007. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.