เกาะญิรบะฮ์
ภาพถ่ายดาวเทียมของเกาะญิรบะฮ์ | |
ภูมิศาสตร์ | |
---|---|
ที่ตั้ง | อ่าวกอบิส |
พื้นที่ | 514 ตารางกิโลเมตร (198 ตารางไมล์) |
การปกครอง | |
เขตผู้ว่าการ | มะดะนีน |
เมืองใหญ่สุด | ฮูมะตุสซูก (ประชากร 75,904 คน) |
ประชากรศาสตร์ | |
ประชากร | 163,726 (สำมะโน ค.ศ. 2014) |
ความหนาแน่น | 309/กม.2 (800/ตารางไมล์) |
กลุ่มชาติพันธุ์ | ชาวตูนิเซีย (อาหรับ, เติร์ก, เบอร์เบอร์, ยิว และชาวตูนิเซียผิวดำ) |
ญิรบะฮ์ : พยานหลักฐานของรูปแบบการตั้งถิ่นฐานในดินแดนเกาะ * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
มัสยิดอัลบัสซี | |
ประเทศ | ตูนิเซีย |
ภูมิภาค ** | รัฐอาหรับ |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
เกณฑ์พิจารณา | (v) |
อ้างอิง | 1640 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2023 (คณะกรรมการสมัยที่ 45) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
ญิรบะฮ์ (อาหรับ: جربة) หรือ แจร์บา (ฝรั่งเศส: Djerba; ฮีบรู: ג׳רבה; กรีก: Μῆνιγξ; อิตาลี: Meninge, Girba) เป็นเกาะในประเทศตูนิเซียและเกาะที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกาเหนือที่มีขนาด 514 ตารางกิโลเมตร (198 ตารางไมล์) ในอ่าวกอบิส[1] ริมชายฝั่งประเทศตูนิเซีย เกาะนี้มีประชากร 139,544 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2004 ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็น 163,726 คนในสำมะโน ค.ศ. 2014 ทางตูนิเซียขอสถานะแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกเพื่อคุ้มครองเกาะ โดยอ้างถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว[2] และใน ค.ศ. 2023 เกาะญิรบะฮ์ได้รับการบรรจุเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกอย่างเป็นทางการ[3]
ประวัติ
[แก้]ตำนานระบุว่าเกาะญิรบะฮ์เป็นเกาะคนกินลอโตส[1][4] ที่โอดิสเซียสติดอยู่ขณะเดินทางกลับผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
สมัยโบราณ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภูมิอากาศ
[แก้]เกาะญิรบะฮ์มีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายร้อน (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน: BWh)[5] ที่มีขอบเขตกับภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้งแบบร้อน (BSh)
ข้อมูลภูมิอากาศของญิรบะฮ์ (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด 1898–ปัจจุบัน) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 31.8 (89.2) |
35.2 (95.4) |
35.0 (95) |
38.6 (101.5) |
43.7 (110.7) |
46.0 (114.8) |
46.1 (115) |
46.3 (115.3) |
42.8 (109) |
42.3 (108.1) |
34.4 (93.9) |
28.6 (83.5) |
46.3 (115.3) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 16.5 (61.7) |
17.8 (64) |
20.3 (68.5) |
23.1 (73.6) |
26.6 (79.9) |
30.0 (86) |
32.9 (91.2) |
33.5 (92.3) |
30.9 (87.6) |
27.6 (81.7) |
22.4 (72.3) |
17.8 (64) |
24.95 (76.91) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 12.9 (55.2) |
13.7 (56.7) |
15.8 (60.4) |
18.3 (64.9) |
21.8 (71.2) |
25.2 (77.4) |
27.8 (82) |
28.7 (83.7) |
26.7 (80.1) |
23.4 (74.1) |
18.6 (65.5) |
14.5 (58.1) |
20.62 (69.11) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 9.2 (48.6) |
9.6 (49.3) |
11.6 (52.9) |
14.2 (57.6) |
17.5 (63.5) |
20.8 (69.4) |
23.1 (73.6) |
24.3 (75.7) |
22.8 (73) |
19.5 (67.1) |
14.7 (58.5) |
11.0 (51.8) |
16.53 (61.75) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 0.0 (32) |
1.0 (33.8) |
4.0 (39.2) |
5.0 (41) |
6.0 (42.8) |
12.0 (53.6) |
15.0 (59) |
14.0 (57.2) |
14.0 (57.2) |
10.0 (50) |
3.0 (37.4) |
1.0 (33.8) |
0.0 (32) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 27.4 (1.079) |
14.3 (0.563) |
15.9 (0.626) |
11.8 (0.465) |
5.1 (0.201) |
1.4 (0.055) |
0.3 (0.012) |
1.3 (0.051) |
20.3 (0.799) |
36.2 (1.425) |
27.2 (1.071) |
41.3 (1.626) |
202.5 (7.972) |
ความชื้นร้อยละ | 69 | 67 | 66 | 66 | 65 | 66 | 63 | 65 | 69 | 68 | 67 | 70 | 67 |
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) | 3.4 | 3.1 | 2.7 | 1.8 | 1.1 | 0.5 | 0.0 | 0.1 | 2.1 | 3.5 | 2.8 | 3.5 | 24.6 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 207.7 | 207.2 | 244.9 | 264.0 | 313.1 | 321.0 | 375.1 | 350.3 | 276.0 | 248.0 | 213.0 | 204.6 | 3,224.9 |
แหล่งที่มา 1: Institut National de la Météorologie (วันที่มีหยาดน้ำฟ้า/ความชื้อ/ดวงอาทิตย์ 1961–1990)[6][7][8][note 1] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: NOAA (ความชื้นและดวงอาทิตย์ 1961–1990),[10] Meteo Climat (สถิติสูงและต่ำ)[11] |
ข้อมูลภูมิอากาศสำหรับเกาะญิรบะฮ์ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ปี |
อุณหภูมิทะเลเฉลี่ย °C (°F) | 16.0 (61.0) |
15.0 (59.0) |
16.0 (61.0) |
17.0 (63.0) |
19.0 (66.0) |
22.0 (72.0) |
26.0 (79.0) |
28.0 (82.0) |
27.0 (81.0) |
25.0 (77.0) |
22.0 (72.0) |
18.0 (64.0) |
20.9 (69.8) |
ชั่วโมงรับแสงรายวันโดยเฉลี่ย | 10.0 | 11.0 | 12.0 | 13.0 | 14.0 | 14.0 | 14.0 | 13.0 | 12.0 | 11.0 | 10.0 | 10.0 | 12.0 |
ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตเฉลี่ย | 3 | 4 | 6 | 8 | 9 | 10 | 11 | 10 | 8 | 6 | 4 | 3 | 6.8 |
ข้อมูล #1: Weather2Travel (อุณหภูมิทะเล) [12] | |||||||||||||
ข้อมูล #2: Weather Atlas [13] |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 15 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 322.
- ↑ Center, UNESCO World Heritage. "Regional Workshop on the World Heritage Nomination Process". UNESCO World Heritage Center. สืบค้นเมื่อ 6 December 2018.
- ↑ Centre, UNESCO World Heritage. "Djerba: Testimony to a settlement pattern in an island territory". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-09-24.
- ↑ Polybius; Strabo 1.2.17.
- ↑ "World map of Köppen-Geiger climate classification". koeppen-geiger.vu-wien.ac.at. สืบค้นเมื่อ 18 August 2023.
- ↑ "Les normales climatiques en Tunisie entre 1981 2010" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
- ↑ "Données normales climatiques 1961–1990" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
- ↑ "Les extrêmes climatiques en Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
- ↑ "Réseau des stations météorologiques synoptiques de la Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
- ↑ "Jerba Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 24 January 2015.
- ↑ "Station Djerba" (ภาษาฝรั่งเศส). Météo Climat. สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
- ↑ "Djerba Climate and Weather Averages, Tunisia". Weather2Travel. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
- ↑ "Djerba, Tunisia – Climate data". Weather Atlas. สืบค้นเมื่อ 4 April 2017.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]บทความนี้เรียบเรียงจากสิ่งพิมพ์ที่เป็นสาธารณสมบัติ: Herbermann, Charles, บ.ก. (1913). "Girba". สารานุกรมคาทอลิก. New York: Robert Appleton Company.