อักษรไภกษุกี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรไภกษุกี
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดสันสกฤต
ช่วงยุคประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 11–12[1]
ระบบแม่
พราหมี
ระบบพี่น้องศารทา
เทวนาครี
ช่วงยูนิโคดU+11C00–U+11C6F
ISO 15924Bhks
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรไภกษุกี (สันสกฤต: भैक्षुकी, ไภกษุกี: แม่แบบ:Script/Bhaiksuki) เป็นอักษรชนิดหนึ่งในตระกูลอักษรพราหมี ใช้ในช่วงประมาณศตวรรษที่ 11 ถึง 12 เพื่อเขียนภาษาสันสกฤต มีลักษณะเด่นคือเป็นหัวลูกศร เคยใช้กันในทิเบตอย่างน้อยประมาณ 3 ศตวรรษ[2] จารึกที่ใช้อักษรชนิดนี้ส่วนใหญ่พบได้ในในรัฐพิหารและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดีย และในบางภูมิภาคของบังกลาเทศ

ยูนิโคด[แก้]

ตัวอักษรไภกษุได้รับการเพิ่มลงในยูนิโคดเวอร์ชัน 9.0 ในเดือนมิถุนายน 2016

อ้างอิง[แก้]

  1. James, Ian (2012-04-16). "Bhaiksuki script". สืบค้นเมื่อ 2016-06-22.
  2. Pandey, Anshuman; Dimitrov, Dragomir (2014-04-23). "N4573: Final Proposal to Encode the Bhaiksuki Script in ISO/IEC 10646" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2016-06-22.